อยากทราบว่า เฟตออโต้โวลท์ คือตัวไหนในรูปครับ****มีรูปด้วยครับ****
ธันวาคม 28, 2024, 12:17:09 pm *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: อยากทราบว่า เฟตออโต้โวลท์ คือตัวไหนในรูปครับ****มีรูปด้วยครับ****  (อ่าน 6377 ครั้ง)
khongsil
member
*

คะแนน0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 127


« เมื่อ: กรกฎาคม 17, 2007, 08:56:10 am »

อยากทราบว่า วงจรดีซีคอนเวอร์เตอร์ หรือเฟตออโต้โวลท์  คืออุปกรณ์ตัวไหนในรูปครับ  ถ้าถอดออกมาแล้วจะวัดยังไงว่าเสีย
หรือไม่เสียครับ


บันทึกการเข้า

khongsil
member
*

คะแนน0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 127


« ตอบ #1 เมื่อ: กรกฎาคม 17, 2007, 08:56:41 am »

.
บันทึกการเข้า
BenQ
member
*

คะแนน214
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4790


อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: กรกฎาคม 17, 2007, 10:29:47 am »

บอกเบอร์มาด้วยครับ
บันทึกการเข้า
khongsil
member
*

คะแนน0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 127


« ตอบ #3 เมื่อ: กรกฎาคม 17, 2007, 10:45:20 am »

ขอโทษครับวันนี้ไม่สะดวกครับ พรุ่งนี้จะมาบอกเบอร์นะครับ

 Sadอีกอย่างครับถ้าถอดออกมาวัดขาดูจะวัดอย่างไรครับว่าเสียไม่เสียครับ Sad
บันทึกการเข้า
BenQ
member
*

คะแนน214
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4790


อีเมล์
« ตอบ #4 เมื่อ: กรกฎาคม 17, 2007, 10:47:07 am »

สรุปคือท่านต้องพร้อมก่อนแล้วค่อยถามครับ มาแบบนี้ผมเดาไม่ถูกครับ  Angry Angry
บันทึกการเข้า
khongsil
member
*

คะแนน0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 127


« ตอบ #5 เมื่อ: กรกฎาคม 17, 2007, 11:01:34 am »

 Smiley Smileyขอบคุณครับ Smiley Smiley
   คือว่าไม่สะดวกที่จะเอาจอมาด้วย ทำได้แค่ถ่ายรูปแล้วเอามาโพสแล้วถามเป็นจุด ๆ ไปว่าต้องทำอย่างไร เช็คอย่างไร
เช็คตัวไหน ดูอย่างไรว่ามันเสียไม่เสีย พอได้ข้อมูลบางอย่างก็จะกลับไปเช็คดูตอนเย็นน่ะครับ  ยังไงก็ขอบคุณมากนะครับ
ได้ข้อมูลเยอะมากนะครับ 

 Winkอยากรู้อีกอย่างครับว่า
ถ้าถอดออกมาแล้วจะวัดขายังไงว่าเสีย
หรือไม่เสียครับ
  Wink
บันทึกการเข้า
BenQ
member
*

คะแนน214
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4790


อีเมล์
« ตอบ #6 เมื่อ: กรกฎาคม 17, 2007, 01:32:34 pm »

 Lips Sealed

อ้างถึง
การวัดมอสเฟท

การทำงานของมอสเฟทเป็นแบบการอินดิวส์หรือเหนี่ยวนำสนามไฟฟ้า การวัดจะไม่ได้ผล หากมีสนามไฟฟ้าตกค้าง ก่อนทำการวัดมอสเฟททุกครั้งจะต้องชอร์ตสนามไฟฟ้าภายในตัวมอสเฟททิ้งให้หมดก่อน โดยใช้วิธีการชอร์ตขาทั้ง 3 เข้าหากัน

การวัดหาขาเกต

1. ให้ตั้งมิเตอร์ไปที่ย่านการวัดค่าความต้านทานเรนจ์ Rx1K หรือ Rx10K
2. ให้ทำการวัดขาของเฟททีละคู่จนครบ 6 ครั้ง จะพบว่ามีขาอยู่ 1 คู่ ที่ไม่ว่าจะวัดอย่างไรก็จะมีค่าความต้าน   
    ทานขึ้น นั่นหมายความว่าขาคู่นั้นคือขา D กับขา S
3. ส่วนขาที่เหลือคือขา G เพราะมอสเฟทถูกสร้างให้ G เป็นขาลอย คือไม่มีการต่อขาเกตเข้ากับเนื้อสารใดๆ
   เลย ดังนั้นเมื่อวัดเทียบกับขาอื่นๆ เข็มมิเตอร์จึงไม่ขึ้น

การวัดหาขาเดรนและซอร์ส

1. ให้ตั้งมิเตอร์ไปที่ย่านการวัดค่าความต้านทานเรนจ์ Rx1K หรือ Rx10K
2. วัดคร่อมไปที่ขา D และขา S เข็มมิเตอร์จะขึ้น จากนั้นให้ย้ายสายวัดสายใดสายหนึ่งไปแตะที่ขา G
3. จากนั้นให้นำสายวัดที่ไปแตะที่ขา G นำกลับมาจับที่ขาเดิม แล้วสังเกตุเข็มของมิเตอร์

        -  หากค่าความที่วัดได้มีค่าลดลงจากเดิมจนเข้าใกล้ศูนย์ แสดงว่าขานั้นคือขา D
        -  หากค่าความที่วัดได้มีค่าเพิ่มขึ้นจากเดิม แสดงว่าขานั้นคือขา S

การหาชนิดของมอสเฟท

เมื่อทราบขาของมอสเฟตแล้วว่าขาใดคือขา D และขา S ให้สังเกตุสายของมิเตอร์ที่วัด

1.  ในกรณีที่วัดมอสเฟทชนิด เอ็น-แชนแนล
-   ขั้วบวกของมิเตอร์ (สายสีดำ) จะจับอยู่ที่ขา D ส่วนขั้วลบของมิเตอร์ (สายสีแดง) จะจับที่ขา S

2.  ในกรณีที่วัดมอสเฟทชนิด พี-แชนแนล
     -    ขั้วบวกของมิเตอร์ (สายสีดำ) จะจับอยู่ที่ขา S ส่วนขั้วลบของมิเตอร์ (สายสีแดง) จะจับที่ขา D

การวัดมอสเฟทว่าดีหรือเสีย

ลักษณะอาการเสียของมอสเฟทมีอยู่ 3 แบบ

1. โครงสร้างภายในชอร์ทถึงกัน
           ลักษณะแบบนี้เมื่อเราทำการวัด 6 ครั้งจะมีมากกว่า 1 คู่ที่เข็มของความต้านทานแสดงค่าออกมา (เข็มของมิเตอร์ขึ้นมากกว่า 1 คู่ )

2. โครงสร้างภายในขาด
           ลักษณะแบบนี้เมื่อเราทำการวัด 6 ครั้งจะไม่มีคู่ใดเลยที่มีค่าความต้านทานแสดงให้เห็น (เข็มมิเตอร์ไม่แสดงค่าความต้านทานขึ้นเลย)

3.  โครงสร้างภายใน(Bias)บกพร่อง
           - ให้วัดคร่อมที่ขา D และขา S  1 ครั้ง จนเข็มมิเตอร์ชี้ค่าความต้านทานขึ้น
           - จากนั้นนำสายวัดที่ขา D มาแตะที่ขา G แล้วนำกลับไปแตะที่ขา D อีกครั้ง
           - ให้สังเกตุเข็มมิเตอร์ ถ้าค่าความต้านทานมีค่าลดลงจากเดิมจนมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ จากนั้นเข็มมิเตอร์ค่อยชี้ค่าความต้านทานเพิ่มขึ้นจนเข้าใกล้ค่าเดิม แสดงว่ามอสเฟทนั้นดี   แต่ถ้าแตะที่ขา G แล้วค่าความต้านทานไม่เปลี่ยนแปลง แสดงว่ามอสเฟทตัวนั้นโครงสร้างการไบอัสภายในเสีย


การทำงานของมอสเฟทเป็นแบบการอินดิวส์หรือเหนี่ยวนำสนามไฟฟ้า การวัดจะไม่ได้ผล หากมีสนามไฟฟ้าตกค้าง ก่อนทำการวัดมอสเฟททุกครั้งจะต้องชอร์ตสนามไฟฟ้าภายในตัวมอสเฟททิ้งให้หมดก่อน โดยใช้วิธีการชอร์ตขาทั้ง 3 เข้าหากัน
บันทึกการเข้า
khongsil
member
*

คะแนน0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 127


« ตอบ #7 เมื่อ: กรกฎาคม 17, 2007, 02:35:32 pm »

 Cheesy
 Cheesy
 Cheesy
 Cheesy

ขอบคุณมากครับคุณ BenQ
 Wink
 Wink
บันทึกการเข้า
pk
member
*

คะแนน56
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 658



« ตอบ #8 เมื่อ: กรกฎาคม 17, 2007, 02:41:12 pm »

อยู่ด้านบนใกล้ FBT 
เป็น FET ชนิด  N
ส่วนมากใช้เบอร์ IRF630,   IRF634
 
บันทึกการเข้า

........... <you/>
khongsil
member
*

คะแนน0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 127


« ตอบ #9 เมื่อ: กรกฎาคม 18, 2007, 08:35:42 am »

ตัวนี้เบอร์  K2545  วัดขาตามที่คุณ BenQ ให้คำแนะนำได้ดังนี้

วัดทั้งหมด  6  ครั้ง
      1.  ขาที่ 1กับขาที่ 2 เข็มมิเตอร์ไม่ขึ้น 
      2.  ขาที่ 1กับ ขาที่ 3 เข็มมิเตอร์ไม่ขึ้น
      3.   ขาที่ 2 กับขาที่ 3  เข็มมิเตอร์ขึ้นและค้างที่อยู่ที่ประมาณ  20  โอห์ม แล้วทำตามที่แนะนำเข็มมิเตอร์ก็ไม่เพิ่มหรือลด
แถมยังแกว่งไปมาเล็กน้อย
      4.  สลับสายวัดขาที่ 1 และ ขาที่ 2  เข็มมิเตอร์ไม่ขึ้น
      5.  วัดขาที่ 1กับขาที่ 3 เข็มมิเตอร์ไม่ขึ้น
      6.  วัดขาที่ 2 กับขาที่ 3 เข็มมิเตอร์ขึ้น ประมาณ  100 โอห์ม แล้วก็ตีกลับอย่างรวดเร็ว

วัดได้อย่างนี้ถือว่าปกติหรือไม่ครับ

ส่วนอีกตัวหนึ่งนะครับเบอร์ YTA F630
วัดขาได้เหมือนกันครับ
     
บันทึกการเข้า
khongsil
member
*

คะแนน0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 127


« ตอบ #10 เมื่อ: กรกฎาคม 18, 2007, 09:25:16 am »

.
บันทึกการเข้า
khongsil
member
*

คะแนน0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 127


« ตอบ #11 เมื่อ: กรกฎาคม 18, 2007, 10:23:21 am »

.
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1 RC2 | SMF © 2001-2006, Lewis Media

lsv2555Please follow the new website at https://www.pohchae.com

Valid CSS!