Re: ฟิวส์หลอดแก้วไขควงวัดไฟมีกี่แอมป์ ?
มกราคม 07, 2025, 09:41:00 am *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: Re: ฟิวส์หลอดแก้วไขควงวัดไฟมีกี่แอมป์ ?  (อ่าน 1705 ครั้ง)
eskimo_bkk-LSV team♥
.กลุ่มผู้มีน้ำใจงาม..
member
*

คะแนน1887
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 13885


ไม่แล่เนื้อเถือหนังพวก


อีเมล์
« เมื่อ: สิงหาคม 10, 2023, 06:25:04 pm »

วัดปลั๊กไฟ ปกติ

ฟิวส์หลอดแก้ว ในไขควงวัดไฟมี กี่แอมป์  ?

คนขาย ไทยวัสดุ บอก ต้องใช้ 20-25 แอมป์

ถูกต้องไหมครับ  ?

มีไขควงวัดไฟ 4 อัน ฟิวส์ ขาดหมด เลยจะไปหาซื้อมาใส่

 Sad


บันทึกการเข้า

ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออนไลน์ ออนไลน์

กระทู้: 18846


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #1 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2023, 08:36:49 am »

ขอดูภาพหลอดนีออนที่เปล่งแสงสีส้ม+ฟิวส์ที่ขาด+ตัวไขควงหน่อยนะครับ





cr: pantip.com , blockdit.com/posts/6043ac75c3f80914c38c8713
บันทึกการเข้า
eskimo_bkk-LSV team♥
.กลุ่มผู้มีน้ำใจงาม..
member
*

คะแนน1887
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 13885


ไม่แล่เนื้อเถือหนังพวก


อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2023, 11:40:22 am »



เห็นในไทยวัสดุ มีฟิวส์หลอดแก้วขาย หลายขนาด แอมป์

ที่ไทยวัสดุ เป็น ฟิวส์ใส่ในปลั๊กไฟ

ฟิวส์ชนิดอยู่ในหลอดแก้ว ขนาด 10 แอมป์

-----------------------------------------------------------------
ไม่เป็นรัย ซื้อของใหม่มาแล้ว ของญี่ปุ่น 195 บาท

ที่อยากรู้เพราะ ถ้าฟิวส์ขาด ซื้อ ฟิวส์ มาใส่ มัน น่าจะใช้ได้

ไม่ต้องซื้อ ยกชุด ปกติทั่วไป ฟิวส์หลอดแก้ว  ใส่ในปลั๊กไฟ ใช้ 10 แอมป์ ?

ฟิวส์หลอดแก้ว.....ใช้กับปลั๊กไฟ

ตัวต้านทาน หลอดนีออนแบบฟิวส์ ....ใช้กับไขควงวัดไฟ

เอามาใช้ ด้วยกันไม่ได้ "หนังคนละม้วน"


บันทึกการเข้า
ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออนไลน์ ออนไลน์

กระทู้: 18846


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #3 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2023, 12:32:02 pm »

โค๊ด:
https://shopee.co.th/product/122075674/10051247662?gclid=Cj0KCQjwldKmBhCCARIsAP-0rfzDbR2V76VBTpoe7GDjsPTVNfECXyEDipbxqrH1OC_YzGZxWqWf4uUaAp4qEALw_wcB

https://eon49.com/2023/08/11/screwdriver-measure-electric-leakage-how-work/
ไขควงลองไฟ หรือ ไขควงวัดไฟรั่ว ทำงานได้อย่างไร?
#ไขควงลองไฟ   #ไขควงวัดไฟรั่ว   #ทำงานได้อย่างไร
-------------------------


  wav!!
บันทึกการเข้า
eskimo_bkk-LSV team♥
.กลุ่มผู้มีน้ำใจงาม..
member
*

คะแนน1887
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 13885


ไม่แล่เนื้อเถือหนังพวก


อีเมล์
« ตอบ #4 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2023, 03:48:31 pm »

หลอดนีออนแบบฟิวส์สำหรับไขควงวัดไฟ
Fluorescent bulb with fuse for a screwdriver

อะไหล่ตัวนี้ ไม่มีขายในไทย



เข้าไปหาลึกๆ ใน net.

ไขควงวัดไฟ มีราคาตั้งแต่ 29 บาท ถึง 300 บาท

จะไปดิ้น รน หา อะไหล่ ฟิวส์ ทามมาย หว่า  ? 555555555555555

หลวมตัวไปซื้อมาได้ 195 บาท สอยมาสะ 2 ตัว

เวลาจะใช้ หาไปเถอะ ครึ่งวัน

เวลาไม่ใช้ แทบมาชน เท้า 5555
------------------------------------------------------------
สาเหตุที่ สงสัยเกี่ยวกับ หลอดนีออนแบบฟิวส์
สำหรับไขควงวัดไฟ เพราะ

เปลี่ยน เบรกเกอร์กันดูด (Residual Current Circuit Breaker)
สำหรับเครื่องทำน้ำอุ่น  หาไขควงวัดไฟไม่เจอ
มี 3 อัน พอเจอเอามาใช้ วัดไม่มีไฟ
ดีที่ไปซื้อมาใหม่ เจอไฟเต็มๆ

ช่างมันต่อตรงเข้ากับสายเมนไม่ผ่านตู้ไฟ Breaker
เลยต้องไปถอดสายที่หม้อ เสาไฟนอกบ้าน 
ทำงาน

---------------------------------------------------------------------

 

บันทึกการเข้า
ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออนไลน์ ออนไลน์

กระทู้: 18846


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #5 เมื่อ: สิงหาคม 12, 2023, 08:40:36 am »



คหสต.ครับ  wav!!

ฟิวส์หลอดแก้ว ในไขควงวัดไฟใช้ กี่แอมป์  ? คนขาย ไทยวัสดุ บอก ต้องใช้ 20-25 แอมป์
..ผมเองยังไม่เคยเจอไขควงวัดไฟใช้ฟิวส์20-25 แอมป์ เคยเจอแต่บางรุ่นมีแท่งคาร์บอน์ทรงกระบอกกลมๆอัดหัวสปริงค์เพื่อกดอุปกรณ์ไว้ให้แน่นเท่านั้น .. แต่บางทีผมอาจจะทิ้งงานซ่อมไปนาน10กว่าปี หากมีไขควงวัดไฟใช้ฟิวส์20-25 แอมป์ จริง  เพื่อนช่างพบเห็นก็ช่วยกันมาโพส ด้วยความขอบคุณยิ่งครับผม  Smiley



บันทึกการเข้า
eskimo_bkk-LSV team♥
.กลุ่มผู้มีน้ำใจงาม..
member
*

คะแนน1887
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 13885


ไม่แล่เนื้อเถือหนังพวก


อีเมล์
« ตอบ #6 เมื่อ: สิงหาคม 12, 2023, 10:06:48 am »

ฟิวส์หลอดแก้ว ในไขควงวัดไฟใช้ กี่แอมป์  ? คนขาย ไทยวัสดุ บอก ต้องใช้ 20-25 แอมป์

..ผมเองยังไม่เคยเจอไขควงวัดไฟใช้ฟิวส์20-25 แอมป์ เคยเจอ
แต่บางรุ่นมีแท่งคาร์บอน์ทรงกระบอกกลมๆอัดหัวสปริงค์เพื่อกดอุปกรณ์ไว้ให้แน่นเท่านั้น ..
แต่บางทีผมอาจจะทิ้งงานซ่อมไปนาน10กว่าปี
หากมีไขควงวัดไฟใช้ฟิวส์ 20-25 แอมป์ จริง 
เพื่อนช่างพบเห็นก็ช่วยกันมาโพส
ด้วยความขอบคุณยิ่งครับผม [/b] Smiley

-----------------------------------------
ถึงผมเอามาตั้งกระทู้
ผมเลย สงสัยไงว่า ? มัน มั่วหรือเปล่า
พนักงานขายในห้าง อยากทำยอด อยากขายโดย ให้ข้อมูลผิดๆกับลูกค้า
เจอบ่อยมากกับการซื้อสินค้าไม่ตรงปก
ยิ่งกับระบบไฟฟ้า ตายจริง ไม่มี ตัวแทน
----------------------------------------------------
เมื่อปลายไขควงวัดไฟสัมผัสกับตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านตัวต้านทาน
เพื่อทำการจำกัดกระแสให้ลดลงจนอยู่ในระดับ
ที่ไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้งาน
จากนั้นจึงไหลผ่านไปยังหลอดนีออน
ก่อนจะไหลต่อเนื่องไปยังร่างกายของผู้ใช้งาน
แล้วไหลลงพื้นเป็นอันครบวงจร
ทำให้หลอดนีออนสว่างขึ้นมาได้

และเป็นเหตุผลที่ระหว่างใช้งานไขควงวัดไฟต้องไม่ใส่รองเท้านั่นเอง
ภายในไขควงเช็คไฟประกอบไปด้วย

ปลายไขควง, ตัวต้านทาน, หลอดนีออน,สปริง และจุดสัมผัสทำจากโลหะ

ส่วนประกอบที่จำเป็นหรืออาจกล่าวได้ว่ามีแค่นี้ก็พอ
นั้นก็คือตัวต้านทานสำหรับจำกัดกระแสไฟฟ้า
และหลอดนีออนสำหรับแสดงสถานะเท่านั้น

ส่วนสปริงนั้นเอาไว้ดันให้อุปกรณ์
ที่บรรจุภายในแท่งไขควงแนบสนิทกันอยู่ตลอดเวลา
หลักการของไขควงเช็คไฟนั้นอาศัยค่าความต่างศักย์ของกระแสไฟฟ้า
นั่นก็คือกระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดที่มีศักย์มากไปยังที่ๆ มีศักย์น้อยกว่านั่นเอง
โดยเมื่อปลายไขควงสัมผัสกับตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านตัวต้านทาน

เพื่อทำการจำกัดกระแสให้ลดลงเหลือเพียง 0.1 ถึงประมาณ 0.2mA เท่านั้น
ทำให้ไม่เกิดอันตรายกับผู้ใช้


ซึ่งเท่ากับ 0.1157 mA (มิลลิแอมป์)
หรือ 0.0001157 A (แอมป์)
น้อยมากๆ จนไม่รู้สึก


แล้วจึงไหลผ่านไปยังหลอดนีออน
(หลอดนีออนจะใช้กระแสไฟฟ้าเพียงเล็กน้อยก็สว่างแล้ว)
ต่อไปยังร่างกายของผู้ใช้งานแล้ว
ไหลลงพื้นเป็นอันครบวงจร ทำให้หลอดนีออนติดสว่างขึ้นมานั่นเอง


สรุป : หลอดนีออนแบบฟิวส์ ตัวต้านทาน มี 0.0001157 A (แอมป์) 



บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1 RC2 | SMF © 2001-2006, Lewis Media

lsv2555Please follow the new website at https://www.pohchae.com

Valid CSS!