การเลือก C ฟิลเตอร์ภาคจ่ายไฟ เครื่องเสียง เลือกอย่างไร ?
LSVคลังสมองออนไลน์ "ปีที่14"
พฤศจิกายน 25, 2024, 05:30:32 am *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: การเลือก C ฟิลเตอร์ภาคจ่ายไฟ เครื่องเสียง เลือกอย่างไร ?  (อ่าน 11076 ครั้ง)
Nimit( Un )
member
*

คะแนน442
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3479


« เมื่อ: กรกฎาคม 09, 2007, 05:56:50 pm »

การเลือก C  ฟิลเตอร์ภาคจ่ายไฟ  เครื่องเสียง 
         1. เลือกอย่างไรว่า  วงจรลักษณะอย่างไหน ต้องใช้ค่าเท่าไร 
               ดูอย่างไรครับ  ว่าแอมป์ขนาด.........  ควรใช้ค่าความจุเท่าไร(  ค่าไมโครฯ )
         2.  ยี่ห้อที่ท่าน  คิดว่า  ให้คุณภาพดีที่สุด
 Cool





บันทึกการเข้า

Songkran_wb
member
*

คะแนน1
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 47


อีเมล์
« ตอบ #1 เมื่อ: กรกฎาคม 09, 2007, 06:51:27 pm »

ส่วนมากก็ค่ายิ่งสูงก็ยิ่งดี ที่สำคัญยิ่งของที่มีคุณภาพดีก็ดีที่สุด ที่บ้านใส่ของ Nippon Chemicon Audio Grade อยู่ค่า 8200uF 56V ซึ่งของเดิมเป็น Marcon 10000uF63V ห่างกัน 1800uFแต่นำเสียงสู้ Nippon ไม่ได้เลย ดังนั้นเน้นคุณภาพเป็นหลักดีกว่า
บันทึกการเข้า
BenQ
member
*

คะแนน214
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4790


อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: กรกฎาคม 09, 2007, 07:45:46 pm »

โดยส่วนตัวผมชอบ ELNA นะครับ เพราะเกรดดีจากที่ใช้มาไม่เคยเจอปัญหา C เสื่อมเลยครับยี่ห้อนี้

- ส่วนค่าความจุ คงขึ้นอยู่กับกระแสไฟที่วงจรต้องการด้วยว่ากินเท่าไหร่แล้วก็ใช้สูตรคำนวณเอาครับ............

อ้างถึง
C = I / 20 x V

I = กระแสที่ใช้งาน
V = แรงดันที่ใช้งาน
20 = ค่าคงที่
บันทึกการเข้า
WatHF100♥
ซุปเปอร์ วีไอพี
member
*

คะแนน55
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 305


อีเมล์
« ตอบ #3 เมื่อ: กรกฎาคม 13, 2007, 03:26:42 pm »

ขอแสดงความเห็นข้อ ๓ ครับ    ยี่ห้อไม่สำคัญครับ  อยู่ที่คุณสมบัติของรุ่น ซีรี่ส์นั้นๆมากกว่า

Capacitor E-Capถ้าเป็นแบบ 105 องศาก็มีสิทธิ์ได้คุณสมบัติในการเป็นแบบWWWWWWWWWWโลว์อิมพีแด้นซ์ High Ripple CurrentกระแสสูงWWWWWWWWWWWWด้วย
ค่าความจุถ้ามีค่ามาก +โลว์อิมฯ+จ่ายกระแสริปเปิ้ลได้สูง  อย่างซียี่ห้อดีๆแพงๆ ของต่างปท ก็ดีไป
แต่ถ้าบ้านเรา ค่าไม่กี่พันไมโคร แต่""""""""จ่ายกระแสริปเปิ้ลได้สูง"""""" สามสี่แอ็มป์ ยังพอหาได้ครับ
เราใช้คุณสมบัติข้อนี้ของมันครับ(High ripple Current)
ซีค่าความจุน้อยทำงานได้รวดเร็วกว่าด้วยครับ


E-Cap ทั่วไป(หรือสังเกตุง่ายๆคือ85องศา)จึงต้องใช้ค่าความจุมาก   ตัวกระป๋องใหญ่ๆ เข้าไว้ก่อนจึงจะได้คุณสมบัติด้านการจ่ายกระแสสูงมา (แต่ตัวใหญ่ ค่าความจุสูง กว่าจะเก็บและคายก็ต้องใช้เวลามากกว่า   ถ้าระบบเครื่องเสียงคุณภาพสูงๆ จะฟังออกได้ไม่ยากในเรื่องนี้)

แต่E-Cap รุ่นใหม่ๆ(105องศาหรือมากกว่า) ถูกออกแบบมาสำหรับสวิทชิ่งความถี่สูง จายกระแสริปเปิ้ลได้สูง  แม้ความถี่ต่ำ(๑๐๐เฮิร์ทช์) ก็ยังมีคุณสมบัติการจ่ายกระแสริปเปิ้ลดีกว่า เมื่อเทียบกันค่าต่อค่า

ข้อเสียคือ หาได้ไม่ง่ายนัก  โดยเฉพาะโวลท์สูงๆ  ค่าความจุสูงๆ
ถ้าทำแอ็มป์วัตต์ต่ำอาจจะพอหาได้ไม่ยากนัก
แต่ถ้าทำแอ็มป์วัตต์สูง   ไฟสูงเฉียดร้อยโวลท์นี่ คงหาได้ยาก
หรือไม่ก็ใช้ค่าความจุต่ำ ร้อย สองร้อยไมโคร ทำเป็นดีคัปปลิ้งตรงๆ  ที่ขาไฟของเพาเวอร์ทรานซิสเตอร์  ตัวต่อตัว

ความคุ้มค่าสำหรับ ชาวดีไอวาย  หรือชาวช่างคงเป็นแบบ ""ทำเองใช้เอง""

ส่วนถ้าเป็นเครื่องทำออกงาน  หรือซ่อมทั่วไป(กับเครื่องตลาดๆ ไม่ใช่ไฮเอ็นด์) ก็เลือกของที่มีคุณภาพ  ไม่เสื่อม  ไม่หมดอายุการใช้งานก็คงเพียงพอแล้วครับ

ส่วนการเลือก  มันต้องมอง  ต้องคิดทั้งระบบ   ตั้งแต่หม้อแปลง  ยันโหลด
รวมถึงการคิดถึงจังหวะการนำกระแสจริงๆ  ของวงจรแต่ละสเตจ (เราจึงสังเกตุเห็นว่า แอ็มป์ระดับสูง  จะมีการดีคัปปลิ้งหลายๆจุด  หรือแยกอิสระให้แต่ละสเตจก็มี)


ตัวอย่างถ้าจะทำแอ็มป์คุณภาพไฮเอ็นด์ใช้เองสักตัว
 แอ็มป์ข้างละ  100W@8Ohms   200W@4Ohms    400W@2Ohms
คิดการกินกระแสที่โหลด ๒ โอห์ม ก็จะได้ประมาณ ๑๔แอ็มป์
หม้อแปลงก็ควรจ่ายกระแสซัก ๑๕แอ็มป์ต่อข้าง   หรือ ๓๐แอ็มป์สำหรับสเตอริโอ

ไดโอดก็ต้องเผื่อการทนกระแส เช่นสัก ๔เท่า(ใช้แบบอัลตร้าฟาสท์ ๖๐แอ็มป์ แบบเดี่ยว ๔ตัวเอามาต่อบริดจ์)
ซีก็ต้องหาคุณสมบัติ  จ่ายกระแสริปเปิ้ลรวมกันได้๑๔แอ็มป์หรือมากกว่า

เช่น  4700uF/63V    ripple current 3Arms  เราก็ต้องใช้สัก ๔หรือ ๕คู่ต่อข้าง

หรือถ้าวงจรนี้บังเอิญว่าเราออกแบบใช้ทรานซิสเตอร์ขาออก ๕คู่ด้วย  ก็เท่ากับว่า เอาต่อซีตัวใครตัวมันไปเลย   ก็จะได้ความดีด้านเสียงและสมรรถนะครับ

ส่วนซาวนด์ โซนิคของเสียงนี่  ต้องใช้ประสบการทดลองช่วยด้วยครับ
เพราะซีแต่ละรุ่นแต่ละแบบ """ให้เสียงต่างกัน"""และสังเกตุได้  ฟังออกซะด้วย""""

บันทึกการเข้า
FIR2029
วีไอพี
member
***

คะแนน19
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 839


FIR2029@hotmail.com
อีเมล์
« ตอบ #4 เมื่อ: กรกฎาคม 13, 2007, 10:36:38 pm »

วันนี้เห็น C 47000/100  280บาท  ใจนึงก็อยากลอง แต่ใจนึงก็เสียดาย
กลับมาตะกี้เลยไปปรึกษาท่านTunk ก็เลยได้ขอสรุปว่ายังไม่ซื้อดีกว่า

ให้ท่านหลงซื้อแล้วมาลองผ่าเล่นๆดู   ดีมั้ยครับ  อิอิ
บันทึกการเข้า

การเสียสละของเราเพียดนิด  อาจเป็นหนทางสว่างของใครหลายๆคน
Tunk
member
*

คะแนน3
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 298


ทำวันนี้ให้ดีที่สุด เป็นตัวของตัวเอง


อีเมล์
« ตอบ #5 เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2007, 12:18:35 am »

การเลือกซื้อของต้องดูให้ดีครับไม่ใช่ตัวหญ่ราคาถูกซื้อเลยคิดดูให้ดีครับ47000/100vไปดูร้านคิงส์ยังคู่ละ 3000บาทเลยครับของELNA
บันทึกการเข้า

สายล่อฟ้า ย่อมถูกฟ้าผ่า
BenQ
member
*

คะแนน214
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4790


อีเมล์
« ตอบ #6 เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2007, 12:24:07 am »

การเลือกซื้อของต้องดูให้ดีครับไม่ใช่ตัวหญ่ราคาถูกซื้อเลยคิดดูให้ดีครับ47000/100vไปดูร้านคิงส์ยังคู่ละ 3000บาทเลยครับ
ของELNA

จากการที่ผมเริ่มสนใจด้านอิเล็กทรอนิกส์นะครับ แล้วก็ได้ซ่อมพวกเครื่องใช้ต่างๆ เวลาเปลี่ยน C ผมเลือก ELNA อย่างเดียวเลย

ไม่เคยเหลียวแลยี่ห้ออื่นเลยครับ ผมว่ายี่ห้อนี้ก้ OK นะครับ ของไทยซะด้วย  Tongue
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1 RC2 | SMF © 2001-2006, Lewis Media

lsv2555Please follow the new website at https://www.pohchae.com

Valid CSS!