ทดสอบ สวิทชิ่ง AC to DC 1000VA. minimum
LSVคลังสมองออนไลน์ "ปีที่14"
พฤศจิกายน 25, 2024, 10:33:08 pm *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ทดสอบ สวิทชิ่ง AC to DC 1000VA. minimum  (อ่าน 10535 ครั้ง)
kratom
member
*

คะแนน2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 103


อีเมล์
« เมื่อ: ตุลาคม 27, 2008, 08:22:59 pm »

หลังจากได้เดินทางไปเอาบอร์ดสวิทชิ่ง AC to DC 1000VA. minimum ของ PowerTekResearch จาก กทม. เอามาแก้ไขเล็กๆน้อยๆ เลยทำการทดสอบครับ โดยการโหลดด้วยเตารีด 1000W (การทดสอบแบบท่านเยาว์คงไม่ว่ากันนะครับพี่...) ไฟ 162 V.( +/-81 Vcc) พอโหลดแล้วไปตกมา 14.4 V. เหลือ 147.6 V. โดยประมาณ เวลาที่ผมทดสอบ 30 นาทีนะครับ ความร้อนก็ ปกติดีนะครับคงที่ไม่น่าตกใจ... ก็เลยเอามาให้ พี่ๆน้องๆ ชมกันนะครับ






เครื่องมือวัดครับ




บันทึกการเข้า

พรเทพ-LSV team♥
รับติดตั้งจานดาวเทียม ลาดพร้าว บางกะปิ
Senior Member
member
*

คะแนน1453
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 12125

091-091-9196 ID LINE : tv59


เว็บไซต์
« ตอบ #1 เมื่อ: ตุลาคม 27, 2008, 08:29:23 pm »

ใครเป็นคนคิด วิธีทดสอบนี้

*** เตารีด กินไป 220VAC  นะครับพี่น้อง

*** แล้วเอา DC จ่ายไปให้ 
บันทึกการเข้า

deedao
Full Member
member
**

คะแนน9
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 319


อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: ตุลาคม 27, 2008, 08:48:25 pm »

ลองวัดความต้านทานของเตารีดหน่อยครับว่า กี่โอห์ม

แล้วเอาค่าโวลท์ที่วัดได้ขณะที่ทดลอง  ยกกำลังสอง  ได้เท่าไรแล้วมาหารด้วย ค่าโอห์มของเตารีดที่ทดลอง 

จะเป็นค่ากำลัง(วัตต์) ที่เครื่องสวิทชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายของท่านจ่ายออกมา ขณะที่ทดลองครับ
บันทึกการเข้า
deedao
Full Member
member
**

คะแนน9
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 319


อีเมล์
« ตอบ #3 เมื่อ: ตุลาคม 27, 2008, 08:55:19 pm »

สงสัย ครับ สงสัย

ท่านรู้ได้อย่างไรครับว่า ไฟตก 14.4 โวลท์


ท่านวัดไฟอย่างไรที่จุดไหนครับ ที่ได้ 14.4 โวลท์
บันทึกการเข้า
deedao
Full Member
member
**

คะแนน9
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 319


อีเมล์
« ตอบ #4 เมื่อ: ตุลาคม 27, 2008, 09:13:29 pm »

เอายังงี้นะท่าน  ตั้งสติให้ดีๆ

- ปรับมิเตอร์วัด VAC
 
  ยังไม่ต้องต่อเตารีดกับซัพพลาย

  เสียบปลั๊กซัพพลาย  วัดไฟบ้านที่จ่ายเข้าวงจรซัพพลายให้ดูหน่อย

- ปรับมิเตอร์วัด VDC

  - จากนั้น  จัดการวัดไฟออกของซัพพลาย ดูทีซิว่าได้กี่โวลท์

  - ถอดปลั๊กซัพพลาย  ต่อเตารีด  เสียบปลั๊กซัพพลาย  วัดไฟออกอีกทีว่าได้เท่าไร

  - เอาค่าไฟออกตอนยังไม่ต่อเตารีด ตั้ง  แล้วลบด้วย ไฟออกตอนที่กำลังต่อเตารีด

  - ได้เท่าไร นั่นคือ ไฟตก 

 

บันทึกการเข้า
golf
member
*

คะแนน5
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 280


speed1kob@hotmail.com
อีเมล์
« ตอบ #5 เมื่อ: ตุลาคม 29, 2008, 02:07:40 pm »

สงสัยเขาใช้มิเตอร์วัดไฟก่อนโหลด แล้วกดให้มันจำค่า จากนั้นต่อโหลด แล้วมันจะแสดงค่าไฟทีออกว่าต่ำกว่าไฟที่จำไว้เท่าไหร่
น่าจะเป็นเช่นนั่น เพราะมิเตอร์รุ่นนี้มันทำได้ ครับ อิอิ
บันทึกการเข้า
deedao
Full Member
member
**

คะแนน9
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 319


อีเมล์
« ตอบ #6 เมื่อ: ตุลาคม 31, 2008, 06:45:51 pm »

โอ้... ละน้อ...     

ขออภัยอย่างแรงครับ  ผมล้าสมัย ไม่รู้ว่าโลกเขาไปถึงไหนแล้ว

เพิ่งรู้ว่ามิเตอร์ดิจิตอลมันมีฟังก์ชั่นอย่างนี้แล้ว
บันทึกการเข้า
kratom
member
*

คะแนน2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 103


อีเมล์
« ตอบ #7 เมื่อ: พฤศจิกายน 17, 2008, 08:49:59 am »

กำลังทำ Class AB มอสเฟต ผมจะเอามาเทสให้ชมอีกรอบครับ....
บันทึกการเข้า
mr.yao
member
*

คะแนน2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 117



« ตอบ #8 เมื่อ: ธันวาคม 21, 2008, 09:00:04 pm »

ใครเป็นคนคิด วิธีทดสอบนี้

*** เตารีด กินไป 220VAC  นะครับพี่น้อง

*** แล้วเอา DC จ่ายไปให้ 
ผมเองครับ....ช่างเยาว์ ณ.โครราช
มีปัญหาอะไร...?
หรือมีข้อสงสัย...สอบถามได้ครับ   Tel.089-1894189
บันทึกการเข้า
tum49
member
*

คะแนน4
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 98


อีเมล์
« ตอบ #9 เมื่อ: ธันวาคม 21, 2008, 09:40:50 pm »

ใช่ครับ ตามหลักแล้วเตารีดก็เหมือนโหลดตัวหนึ่ง หรือ R ตัวหนึ่ง แต่ที่ผมเคยทำผมใช้R ค่า 1 โอห์ม 10 วัตต์ อนุกรม เพื่อให้ได้ความต้านทานค่าหนึ่ง และกำลังวัตต์ของ R ก็สูงพอ ซึ่งผมใช้ผมใช้ทดสอบเครื่องเสียงที่ซ่อมนี่แหละ เป็นดัมมี่โหลดครับ ซึ่ง R ที่ผมต่อรวมกันก็ประมาณ 8 โอห์มครับ ใช้ทดสอบคุณสมบัติของแอมปได้ครับ
อาจนำไปทดสอบเครื่องจ่ายไฟ ได้นะครับ ลองดูครับ  ถูกผิดยังไงก็ชี้แนะด้วยนะครับ
บันทึกการเข้า
rocketteam
member
*

คะแนน0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 20


« ตอบ #10 เมื่อ: มกราคม 06, 2009, 07:39:05 pm »

สมัยผมเรียนปวช.ก็ใช้ลวดความร้อนของเตาไฟฟ้านี่แหล่ะครับทำโหลด ซื้อมาแล้วก็ตัด แล้วก็วัดโอมห์ ตัดจนได้โอมห์ที่ต้องการ
แล้วก็ต่อ เปิดให้ร้อนแดงมันก็ยังไม่ขาดเลย  THANK!!
ตอนนั้นทดสอบสวิตชิ่ง 10A ผมตัดให้ได้ 1 โอห์ม แล้วก็เอาโวลท์มิเตอร์วัดคร่อมขณะที่ต่อสวิตชิ่ง ลวดแดงฉ่าเลย แต่โวลท์แทบไม่ตกเลย
 
บันทึกการเข้า
EVENS
member
*

คะแนน2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 19


เว็บไซต์
« ตอบ #11 เมื่อ: มีนาคม 31, 2009, 01:57:08 am »

สมัยผมเรียนปวช.ก็ใช้ลวดความร้อนของเตาไฟฟ้านี่แหล่ะครับทำโหลด ซื้อมาแล้วก็ตัด แล้วก็วัดโอมห์ ตัดจนได้โอมห์ที่ต้องการ
แล้วก็ต่อ เปิดให้ร้อนแดงมันก็ยังไม่ขาดเลย  THANK!!
ตอนนั้นทดสอบสวิตชิ่ง 10A ผมตัดให้ได้ 1 โอห์ม แล้วก็เอาโวลท์มิเตอร์วัดคร่อมขณะที่ต่อสวิตชิ่ง ลวดแดงฉ่าเลย แต่โวลท์แทบไม่ตกเลย
 

โดยปกติลวดนิโครมความต้านทานปกติมันจะต่ำอยู่แล้วครับพอร้อนแล้วอุณหภูมิจะสูงขึ้นตอนมันแดงๆนั่นค่าความต้านทานจะสูงขึ้นเราไม่สามารถนำค่าความต้านทานที่วัดได้ก่อนหน้านี้มาคำนวณหากำลังที่แท้จริงได้ครับ ดังนั้นควรจะมีมิเตอร์วัดทั้งกระแสและแรงดันไว้และนำค่าที่ได้มาคำนวณกำลังวัตต์ P=I*V จึงจะได้ค่ากำลังเอาต์พุตที่ถูกต้อง
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1 RC2 | SMF © 2001-2006, Lewis Media

lsv2555Please follow the new website at https://www.pohchae.com

Valid CSS!