Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« เมื่อ: ตุลาคม 19, 2007, 11:24:26 pm » |
|
เรียนรู้เบื้องต้น...สำหรับมือใหม่อยากทำเองได้.....
ว่างๆ เลยหาอะไรมาเพื่อเรียนรู้ เล่นๆ
ซึ่ง มีเพื่อนๆน้องๆถามมา อยากทำเองได้ แต่ไม่ได้เรียนมา อยากต่อเองได้ ต่อเองได้ถูกต้อง และเอาแค่พอเข้าใจ
ผมก็มาทำให้ดู เป็นแค่หลักการณ์เบื้องต้นเท่านั้นนะครับ หลักวิชาการ จะนำเสนอต่อไป
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #1 เมื่อ: ตุลาคม 19, 2007, 11:27:10 pm » |
|
วันนี้ได้รวมรวบ แบบการต่อเครื่องเสียงเบื้องต้น มาให้น้องๆสมาชิก และผู้ที่มีความสนใจเรื่องเครื่องเสียง
บางท่านชอบแต่ติดที่ทำไม่เป็น แต่อยากทำเองได้ วันนี้ผมเลยนำมารวบรวม การต่อเบื้องต้น เพื่อการเรียนรู้....จะได้เข้าใจและทำเองได้........... -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาดูกันก่อนครับ ว่าเราต้องมีอะไรบ้าง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #2 เมื่อ: ตุลาคม 19, 2007, 11:29:17 pm » |
|
1.หม้อแปลง หม้อแปลงจะทำหน้าที่ลดแรงดันไฟ 220 Vac ลงมาให้เหลือตามที่ขนาดที่เราต้องการ....
------------------------------------------------------------------------ ตัวอย่างหม้อแปลง และการสังเกตุโค๊ดสี แรงดันไฟที่ใช้งาน ให้สังเกตุที่ตัวหม้อแปลง
แรงดันที่จ่ายออกมานั้น เป็นแรงดันไฟ AC การที่เราจะนำไปใช้งานกับเครื่องเสียงนั้น
เราต้องทำให้เป็นแรงดันไฟ DC ก่อน จึงจะสาเหตุใช้งานได้
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตัวอย่างการคำนวนหาแรงดันไฟ แรงดันไฟที่หม้อแปลง 35-0-35(AC) เราก็นำ 35 x1.414=..49.49(หรือ 50 VDC) หมายเหตุ แรงดัน 50 Vdc นั้นจะได้มาก็ต่อเมื่อ เราได้ต่อ ตัวเก็บประจุแล้วนะครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #3 เมื่อ: ตุลาคม 19, 2007, 11:30:26 pm » |
|
สำรอง ข้อ1
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #4 เมื่อ: ตุลาคม 19, 2007, 11:32:36 pm » |
|
2.ไดโอด ทำหน้าที่.........เปลี่ยนแรงดันไฟ AC เป็นไฟ DC (เบื้องต้นคร่าวๆนะครับ)
ไดโอดที่เราใช้กันมากใรเครื่องเสียงก็จะมี เห็นกัน 3 แบบดังรูปครับ ส่วนมากนั้นจะเห็นแต่ รูปที่ 1 และ 2
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #5 เมื่อ: ตุลาคม 19, 2007, 11:41:28 pm » |
|
สำรอง ข้อ 2.
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #6 เมื่อ: ตุลาคม 19, 2007, 11:44:48 pm » |
|
3.ตัวเก็บประจุ หรือคาปาซิเตอร์ ( ตัว C) ทำหน้าที่กรองไฟให้มีความราบเรียบ และสำรองไฟทำให้แอมป์มีความสามารถรองรับพีก
การเลือกใช้งานเบื้องต้น การเลือกขนาดของตัวเก็บประจุที่ใช้ในการกรองไฟในภาคจ่ายไฟนั้น เป็นเรื่องที่สำคัญ ถ้าใช้ตัวเก็บประจุเล็กเกินไป พลังเสียงความถี่ต่ำๆ จะลดลงจนเราสามารถฟังออก แต่หากตัวเก็บประจุใส่ค่าความจุ มากเกินไป หม้อแปลงก็จะจ่ายกระแสไฟไปประจุไม่ทัน หลังจากปล่อยพลังงานออกไป มีผลทำให้เกิดความพร่ามัว ไม่แจ่มใสของเสียงทุ้ม
การเลือกตัวเก็บประจุกรองกระแส ตัวเก็บประจุในวงจรภาคจ่ายไฟนั้น จะทำหน้าที่กรองกระแส(Fitter)แรงดันทางเอาต์พุตที่ผ่านการเร็กติไฟร์มาแล้ว ซึ่งยังอยู่ในแบบลักษณะการกระเพื่อมอยู่มาก ให้เป็นแรงดันไฟกระแสตรงที่ราบเรียบขึ้น เพื่อนำไปใช้งานต่อไป การเลือกขนาดตัวเก็บประจุนั้น ต้องคำนึงถึงค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญ 2 ประการคือ 1. ระดับแรงดันใช้งานสูงสุดของตัวเก็บประจุ ซึ่งต้องมีค่ามากกว่าแรงดันไฟกระแสตรงของแหล่งจ่ายไฟ ขณะยังไม่ต่อโหลดเพื่อป้องกันไม่ให้ตัวเก็บประจุเสียหายได้ 2.ค่าความจุของตัวเก็บประจุที่จะต้องเพียงพอที่จะทำให้แรงดันไฟกระแสตรงจากแหล่งจ่ายมีลักษณะเรียบและสามารถนำไปใช้งานได้
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #7 เมื่อ: ตุลาคม 19, 2007, 11:50:50 pm » |
|
สำรอง ข้อที่ 3
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #8 เมื่อ: ตุลาคม 20, 2007, 04:04:39 pm » |
|
4.การต่อภาคจ่ายไฟ เพื่อการใช้งาน
หลักการณ์เบื้องต้น หม้อแปลงทำหน้าที่ลดแรงดัน 220 VAC ลดลงเหลือ ตามที่เราต้องการใช้งานกับวงจรขยายเสียงของเรา แล้วป้อนเข้าชุดบริดจ์เร็กติไฟร์(ไดโอด 4 ตัวตามภาพ) เพื่อแปลงไฟสลับ ให้เป็นไฟตรง แล้วเข้าที่ตัวเก็บประจุเพื่อกรองไฟ ทั้งด้าน+/- ให้มีความสม่ำเสมอราบเรียบ อีกทั้งยังเป็นตัวสำรองไฟ ไม่ให้ตกในช่วงที่เครื่องทำงานหนักสุดๆ เช่นช่วงสัญญาณเฉียบพลันรุนแรง ก็คือ ตอนที่เราอัดเบสลงลึกๆ
เมื่อทราบถึงหลัการเบื้องต้นแล้ว คราวนี้เรามาดูขั้นต้อนการต่อ ภาคจ่ายไฟกัน
เมื่อท่านทราบถึงหลักการต่อไดโอดแล้ว(ชุดบริดจ์เร็กติไฟร์) ท่านก็จะสามารถต่อเข้าบนตัวของตัวเก็บประจุได้เลย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #9 เมื่อ: ตุลาคม 20, 2007, 06:52:14 pm » |
|
4.2 คราวนี้ก็มาดูการต่อชุดชุดบริดจ์เร็กติไฟร์ อีกแบบนึง ซึ่งแบบจะใช้กันมากที่สุดในการวางเครื่องเสียงครับ ส่วนเรื่องการเลือกชุดบริดจ์เร็กติไฟร์ นั้นจะนำเสนอต่อไปครับ หาวงจรไม่ได้ครับ เลยใช้แบบวาดเองซะเลย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #10 เมื่อ: ตุลาคม 20, 2007, 07:00:43 pm » |
|
4.2 มาดูตัวอย่างเบื้องต้นของภาคจ่ายไฟ(ดูภาพประกอบ)
1.เริ่มจากไฟ220vส่งผ่านฟิวส์(F1)เพื่อจำกัดกระแสและป้องกันการลัดวงจร
2.sw1เป็ตัวปิดเปิดเครื่องโดยจะมีc5,c6ทำหน้าที่เป็นตัวลดแรงดันไฟกระโชกของวงจรจ่ายไฟ
3.หม้อแปลงทำหน้าที่ลดแรงดันไฟ220vลงเหลือตามขนาดที่วงจรนั้นๆต้องการ
4.แรงดันที่ได้จะถูกส่งเข้าไปเร็กติฟายด้วยไดโอดบริดจ์คือBD
5.และส่งผ่านรีซิสเตอร์กนกระโชก(R1R2สำหรับชุดไฟบวก
6.ส่วนR3R4 สำหรับชุดไฟลบ
7.ส่วนC1-C4จะทำหน้าที่เป็นตัวกรองไฟให้ราบเรียบ(Filter)และทำหน้าที่สำรองไฟให้กับโหลดหรือภาคขยายนั้นเอง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #11 เมื่อ: ตุลาคม 22, 2007, 12:13:20 pm » |
|
4.3 ในส่วนของตัวไดโอดบริจด์นั้น เราต้องยึดกับแท่นเครื่อง ไม่ใช้แค่ยึดให้อยู่กับที่ แต่ยังเป็นการช่วยระบายความร้อนตัวไดโอดบริจด์ด้วยครับ
ดูภาพประกอบ การต่อลงแท่น และขั้นตอนการต่อ จะเห็นได้ว่ามีการยึดตัวไดโอดบริจด์ 2 อย่าง คือ ยึดกับแท่น และยึดบนแผ่นระบายความร้อน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าเราใช้งานหนักเบา แค่ไหน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #12 เมื่อ: ตุลาคม 22, 2007, 12:15:28 pm » |
|
สำรองข้อที่ 4
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #13 เมื่อ: ตุลาคม 22, 2007, 12:17:18 pm » |
|
5.มาดูตัวอย่างเมนแอมป์ ที่ยกเป็นตัวอย่างกัน ในครั้งนี้ การประกอบและการติดตั้ง
ข้อมูลเมนแอมป์ 1.ไฟเลี้ยง 35-0-35 VDC 2.TR Output 2N3055 MJ2955
ในส่วนของทรานซิสเตอร์เอาพุต จะต้องประกอบและติดตั้ง
อุปกรณ์ดังต่อไปนี้ 1.ทรานซิสเตอร์เอาพุต 2.แผ่นไมล่า(เป็นฉนวนนำความร้อน) 3.น็อต 4.บูชพลาสติก (สำหรับกันซ็อตกับแผ่นระบายความร้อน เป็นตัวรองน็อตด้วย) 5.หางปลา (สหรับใส่ที่ขา C ของ ทรานซิสเตอร์) 6.แผ่นระบายความร้อน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #14 เมื่อ: ตุลาคม 22, 2007, 01:23:32 pm » |
|
5.1 มาดูซิว่า ตำแหน่งการต่อเมนแอมป์ตัวนี้ มีอะไรบ้าง
ครั้งนี้ขอลัดขั้นตอน การต่ออุปกรณ์ลงปริ้นเลยนะครับ
การต่ออุปกรณ์ลงปริ้นไม่มีอะไรมากครับ ลงอุปกรณ์ตามที่แผ่นปริ้นระบุไว้ด้านบน ดัดขาอุปกรณ์ให้สั้ที่สุด และบัดกรีให้สนิทเรียบร้อย สวยงาม เสร็จแล้วล้างด้วยทินเนอร์ให้สะอาด และทำการตรวจเช็คการลงอุปกรณ์ให้ถูกต้อง....ผิดก็ทำการแก้ไขทันที
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #15 เมื่อ: ตุลาคม 22, 2007, 04:35:59 pm » |
|
5.2 คราวนี้มาดูการประกอบ ตัวทรานซิสเตอร์( TR ) เข้ากับแผ่นระบายความร้อน
นำแผ่นไมก้า ทาซิโคนและประกบกับ ทรานซิสเตอร์ ดังรูปที่แสดง เมื่อเสร็จแล้วก็ทำการประกอบเข้ากับตัวแผ่นระบายความร้อนดังภาพ
ซึ่งขั้นตอยเหล่านี้คงไม่ยากนะครับ ดูภาพประกอบ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #16 เมื่อ: ตุลาคม 22, 2007, 04:41:34 pm » |
|
5.3 เมื่อเราทำการติดตั้งตัวทรานซิสเตอร์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทุกครั้งเราต้อง นำมิเตอร์มาวัดเทียบกับทุกขาของ ทรานซิสเตอร์ ต้องไม่ซ็อตหากัน หากซ็อตหรือมีค่าความต้านทานขึ้น ให้เราทำการตรวจเช็คให้เรียบร้อย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #17 เมื่อ: ตุลาคม 24, 2007, 03:47:44 pm » |
|
5.3 ติดตั้งเสร็จเดินสาย TR กับบอร์ดแอมป์
เมื่อเราทำการติดตั้ง TR เข้าอผ่นระบายความร้อน และเช็คความถูกต้องแล้ว คราวนี้ก็มาถึงการเดินสายเชื่อมต่อหากัน ระหว่า TR กับบอร์ดแอมป์
การเดินสาย คงไม่มีอะไรมากครับ
1.การเดินสายให้เลือกสีของสายให้ต่างกัน ทำการเลือกว่าสายสีไหนจะใช้กับ ขาไหนของ TR โดยที่จะต้องใช้สีนั้นๆ ให้เหมือนกันทั้ง เครื่อง เพื่อการไล่เช็คสาย(ขา) จะได้ไม่สับสน
2.การเดินสายนั้น พยามเดินให้สั้นที่สุด เสร็จแล้วพันสายให้เป็นเกลียว ดังภาพ
หลักการณ์คร่าวๆครับ มีเวลาจะลงหลักการและเหตุผลเพิ่มเติ่ม
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
FIR2029
วีไอพี
member
คะแนน 19
ออฟไลน์
กระทู้: 839
|
|
« ตอบ #18 เมื่อ: ตุลาคม 26, 2007, 10:38:32 pm » |
|
โอ้ววว เยี่ยมเลยครับท่านพี่ ฮ่าๆ ไม่ได้เล่นเน็ตหลายสัปดาห์มากๆ เดี๋ยวช่วงนี้คงได้กลับมาเล่นแล้วครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
การเสียสละของเราเพียดนิด อาจเป็นหนทางสว่างของใครหลายๆคน
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #19 เมื่อ: ตุลาคม 30, 2007, 06:52:44 pm » |
|
5.4 สำรองข้อมูล
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Nimit( Un )
member
คะแนน 442
ออฟไลน์
กระทู้: 3479
|
|
« ตอบ #20 เมื่อ: ตุลาคม 30, 2007, 07:00:20 pm » |
|
6. ชุดป้องกันลำโพง
ชุดป้องกันลำโพง ถือว่าเป็นสิ่งที่สำคัญมากที่สุดก็ว่าได้
หน้าที่หลักๆของชุดป้องกันลำโพงนั้น 1.ป้องกันอันตราย จากการทำงานผิดผลาดของวงจรขยาย ซึ่งเมื่อวงจรขยายพัง จะปล่อยแรงดันไฟตรงสุ่ลำโพง ทำให้ลำโพง อาจได้รับความเสียหายได้
2.อีกทั้งยังช่วยลดเสียงตุ้บออกทางลำโพง ในกรณีที่เราเปิดสวิตซ์เครื่อง วงจรจะหน่วงเวลาไว้
เป็นหลักการ ก่อนนะครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SIRIPHON
member
คะแนน 5
ออฟไลน์
กระทู้: 77
|
|
« ตอบ #21 เมื่อ: ตุลาคม 31, 2007, 10:41:54 am » |
|
ขอบคุณสำหรับความรู้ที่แบ่งบันให้ นะครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
mangkornmung
member
คะแนน 4
ออฟไลน์
กระทู้: 156
|
|
« ตอบ #22 เมื่อ: ตุลาคม 31, 2007, 12:00:08 pm » |
|
ขอบคุณเหมือนกันครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
din123
member
คะแนน 1
ออฟไลน์
กระทู้: 149
|
|
« ตอบ #23 เมื่อ: ตุลาคม 31, 2007, 06:36:07 pm » |
|
ขอบคุณสำหรับความรู้ที่แบ่งบันให้ นะครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NJradio
member
คะแนน 5
ออฟไลน์
กระทู้: 300
เด็กใหม่ใจรักเครื่องเสียงครับ
|
|
« ตอบ #24 เมื่อ: พฤศจิกายน 16, 2007, 04:04:45 pm » |
|
ขอบคุณมากครับที่นำความรู้มาเสนอแนะ...เป็นสิ่งที่มีประโยชน์อย่างยิ่งเลยสำหรับท่านที่กำลังจะลงมือลองทำ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
noi3535-LSV team♥
.กลุ่มผู้มีน้ำใจงาม.
member
คะแนน 565
ออฟไลน์
กระทู้: 1706
|
|
« ตอบ #25 เมื่อ: พฤศจิกายน 16, 2007, 06:20:04 pm » |
|
มาแจมครับ วงจรนี้ถ้ามี รีเลย์ ให้ถอด Rที่โหลด Out Put ออกแล้วจั๊มตรงได้เลยครับ ตอนที่เราเปิดเสียงเบาๆเสียงจะไม่ติดแหบปลายเสียงครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
884-200-9496 ชื่อบัญชี นายนพดล รอดภัย ไทย พาณิชย์ สาขาย่อยบิ๊กซีเพชรบุรี ออมทรัพย์ 086-3119516 -ทรูมูฟ 088-2356231-ดีแทค 083-5565916-ดีแทค
|
|
|
sorn_audio
member
คะแนน 0
ออฟไลน์
กระทู้: 14
|
|
« ตอบ #26 เมื่อ: พฤศจิกายน 17, 2007, 12:00:03 am » |
|
น้ำใจขอ พี่ นิมิตร ประเมินค่าไม่ได้เลยครับ ขอให้คนอย่างนี้มีอยู่ที่ประเทศไทยเยอะๆๆครับ ขอแสดงความนับถือครับ
พี่น้อยบอกให้ถอด R ตัวไหนครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
รูป รส กลิ่น เสียง
|
|
|
kongmee
member
คะแนน 3
ออฟไลน์
กระทู้: 236
|
|
« ตอบ #27 เมื่อ: พฤศจิกายน 17, 2007, 05:01:56 pm » |
|
ขอบคุณที่ให้ความรู้ครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
noi3535-LSV team♥
.กลุ่มผู้มีน้ำใจงาม.
member
คะแนน 565
ออฟไลน์
กระทู้: 1706
|
|
« ตอบ #28 เมื่อ: พฤศจิกายน 17, 2007, 08:53:38 pm » |
|
น้ำใจขอ พี่ นิมิตร ประเมินค่าไม่ได้เลยครับ ขอให้คนอย่างนี้มีอยู่ที่ประเทศไทยเยอะๆๆครับ ขอแสดงความนับถือครับ
พี่น้อยบอกให้ถอด R ตัวไหนครับ
ตัวนี้ครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
884-200-9496 ชื่อบัญชี นายนพดล รอดภัย ไทย พาณิชย์ สาขาย่อยบิ๊กซีเพชรบุรี ออมทรัพย์ 086-3119516 -ทรูมูฟ 088-2356231-ดีแทค 083-5565916-ดีแทค
|
|
|
|