ร้อนปุ๊บ................เป่าปั๊บ...........................
LSVคลังสมองออนไลน์ "ปีที่14"
พฤศจิกายน 23, 2024, 02:38:39 pm *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ร้อนปุ๊บ................เป่าปั๊บ...........................  (อ่าน 7396 ครั้ง)
BenQ
member
*

คะแนน214
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4790


อีเมล์
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 10, 2007, 03:03:51 pm »

เหมาะสำหรับเครื่องขยายเสียงที่มีปัญหาเรื่องการระบายความร้อนครับ....................
วงจรนี้พิเศษตรงที่ จะทำงานก็ต่อเมื่อฮีทซิงค์มีความร้อนสะสมเกินกว่ากำหนดเท่านั้น วงจรตรวจสอบความร้อน
ก็จะสั่งการให้รีเลย์ทำงานตัดต่อ ให้พัดลมทำงานอีกทีครับ................

 Grin Grin Grin


บันทึกการเข้า

toyota
member
*

คะแนน2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 57


« ตอบ #1 เมื่อ: ธันวาคม 16, 2007, 05:05:31 pm »

เหมาะสำหรับเครื่องขยายเสียงที่มีปัญหาเรื่องการระบายความร้อนครับ....................
วงจรนี้พิเศษตรงที่ จะทำงานก็ต่อเมื่อฮีทซิงค์มีความร้อนสะสมเกินกว่ากำหนดเท่านั้น วงจรตรวจสอบความร้อน
ก็จะสั่งการให้รีเลย์ทำงานตัดต่อ ให้พัดลมทำงานอีกทีครับ................

 Grin Grin Grin

รบกวนพี่ BenQ อธิบายการทำงานของวงจรพอคร่าวๆหน่อยครับจะเอาข้อมูล
ไปทำรายงานทำโครงงานครับ...
บันทึกการเข้า
momename
member
*

คะแนน16
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 219



« ตอบ #2 เมื่อ: ธันวาคม 17, 2007, 08:13:35 am »

อืม อนุญาติเสริมนิดนะครับ
วงจรนี้ให้หลักการของตัวต้านทานไวความร้อน หรือเทอร์มิสเตอร์
เจ้าตัวต้านทานนี้ จะเปลี่ยนค่าความต้านทานตามอุณหภูมิที่มันสัมผัสอยู่
เมื่อร้อนจะมีค่าความต้านทานต่ำ แต่พอร้อนน้อยลงค่าความต้านทานสูงขึ้น
ส่วนไอซี 741 ถูกจัดวงจรเป็นลักษณะวงจรเปรียบเทียบแรงดันครับ
ทางขาอินพุต มี 2 ขา บวก และ ลบ ตอนนี้เรากำหนดให้ขาบวก ป้อนไฟคงที่ประมาณ ครึ่งของไฟเลี้ยง
เมื่อขาลบมีแรงดันต่ำกว่าขาบวกปุ๊บ ก็จะทำให้มีไฟสูงที่ขาออกของไอซีทันที ส่งผลให้ทรานซิสเตอร์ขับรีเลย์ทำงานได้ครับ

สมมุติ ว่า ตอนนี้เรานำตัวเทอร์มิสเตอร์ไปวางใกล้ๆ ไอซี 7805 วงจรจ่ายไฟขนาด 5V ใช้กับวงจรดิจิตอลทั่วไป
เมื่อไอซีทำงานจะร้อนขึ้นเรื่อยๆ เจ้าตัวเทอร์มิสเตอร์ก็พลอยร้อนตามไปด้วย ส่งผลให้ค่าความต้านทานภายในตัวมันลดต่ำลง
แรงดันที่ตกคร่อมตัวมันก็ต่ำลงด้วย  เขาทางไอซี 741 เรา ขาลบก็มีแรงดันต่ำลงกว่า ขาบวก ทำให้มีแรงดันสูงที่ขาออกของไอซี
รีเลย์ก็เลยทำงานต่อไฟให้กับพัดลมตัวใหญ่ เป่าไอซี 7805 ให้ร้อนน้อยลง
พอไอซีร้อนน้อยลง เทอร์มิสเตอร์ก็มีค่าความต้านทานสูงขึ้นอีก วงจรเปรียบเทียบก็สั่งให้รีเลย์หยุดทำงาน  แต่พอไอซี 7805 ร้อนอีกครั้ง
วงจรตรวจอุณหภูมินี้ ก็จะสั่งให้พัดลมทำงานอีกครั้งครับ

บันทึกการเข้า

รวมวงจร อิเล็กทรอนิกส์
chitchai_e
member
*

คะแนน1
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 66



อีเมล์
« ตอบ #3 เมื่อ: มิถุนายน 07, 2008, 08:54:43 pm »

 Cheesy
บันทึกการเข้า
kan
Full Member
member
**

คะแนน78
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 659



« ตอบ #4 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2008, 07:03:36 pm »

ใช้ LM3914ทำก็ได้ครับ ต่อเป็นบาร์ จะให้ติดช่วงใหนก็ได้ ทำเป็นโพรเทคขยายก็ได้ วงจรข้างบน ขา B ใส่คาปาให้หน่วงเวลาหน่อย ช่วงเวลาจะทำงานรีเลย์จะดีดรัว และใช้คาปาค่าใหญ่หน่อยค่อมรีเลย์อีกทีก็ได้ หรือใครไม่อยากใช้รีเลย์ก็ใช้ทรานซิสเตอร์แทนก็ได้ พัดลมจะหมุนช้าแล้วค่อยๆเร็ว
บันทึกการเข้า
Theerajet
member
*

คะแนน0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1


« ตอบ #5 เมื่อ: กรกฎาคม 26, 2008, 10:39:16 am »

ใช้กับพัดลม 220v ได้ไหมคับ
 Sad
บันทึกการเข้า
taoybb
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #6 เมื่อ: กรกฎาคม 29, 2008, 06:20:57 pm »

ได้ครับ โดย ขั่วบวก12โวลต์และG ไม่ต้องต่อ to Fan ที่รีเลยครับ แตให้่ต่อไฟบ้านครับ
บันทึกการเข้า
taoybb
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #7 เมื่อ: กรกฎาคม 29, 2008, 06:25:51 pm »

รูปการทำครับ
เหตุผลที่ทำได้เพราะจริงๆแล้ว Relay ใช้ทำสวิตช์ในการควบคุมไฟบ้านโดยใช้ไฟเพียงเล็กน้อยไปเลี้ยง
บันทึกการเข้า
ลุงเคี้ยง-LSVteam♥
.กลุ่มผู้มีน้ำใจงาม..
member
*

คะแนน1138
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6667


ขอเป็นข้ารองบาททุกชาติไป


« ตอบ #8 เมื่อ: สิงหาคม 01, 2008, 06:53:46 pm »

 เพิ่ม C เข้ามาเพื่อให้หน่วงเวลา ก็ แล้วแต่ว่าจะให้หน่วงเวลามากน้อยขนาดไหนก็ขึ้นอยู่กับค่า C ครับผมว่าดีนะครับ HAPPY2!!
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1 RC2 | SMF © 2001-2006, Lewis Media

lsv2555Please follow the new website at https://www.pohchae.com

Valid CSS!