วันนี้ท่านได้ปฏิบัติกันหรือยังครับ
หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: วันนี้ท่านได้ปฏิบัติกันหรือยังครับ  (อ่าน 27566 ครั้ง)
eskimo_bkk-LSV team♥
.กลุ่มผู้มีน้ำใจงาม..
member
*

คะแนน1887
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 13886


ไม่แล่เนื้อเถือหนังพวก


อีเมล์
« เมื่อ: มีนาคม 03, 2007, 06:59:25 am »

ผมลุกขึ้นมาตั้งแต่ตี 3  Lips Sealed

คำนมัสการบูชาพระ
คำกล่าวนมัสการบูชาพระรัตนตรัย
เป็นการรำลึกถึงพระพุทธคุณเบื้องต้นก่อนสวดมนต์ บูชาพระ หรือทำพิธีการต่างๆ
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ (กราบ)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
คำขอขมาพระรัตนตรัย
อุกาสะ อัจจะโย โน ภันเต อัจจัคคะมา ยะถาพาเล ยะถามุฬเห
ยะถาอะกุสะเล เย มะยัง กะรัมหา เอวัง ภันเต มะยัง อัจจะโย โน
ปะฏิคคัณหะถะ อายะติง สังวะเรยยามิ
คำกล่าวบูชาไตรสรณคมน์
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
(ต่อไปพระผู้นำกล่าวรับว่า)
อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ
สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ตัสมา สีลัง วิโสธะเย
พุทธะบูชา มหาเตชะวันโต
ธัมมะบูชา มหาปัญโญ
สังฆะบูชา มหาโภคะวาโห
ติโลกะนาถัง อภิปูชะยามิ
พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร
ปูริสะทัมมสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ (กราบ)
ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ (กราบ)
สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ (กราบ)

พระคาถาชินบัญชร
เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งขึ้นก่อนเจริญภาวนาชินบัญชรตั้งนะโม  3  จบก่อน  แล้วระลึกถึง
สมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)
พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณและได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ ผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งขึ้น ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงและตั้งคำอธิษฐานว่า
ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง
อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา
อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ
 
เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร
๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชตะวา มารัง
สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เยปิวิงสุ นะราสะภา
พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์
ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว
เสวยอมตรสคือ อริยะสัจธรรมทั้งสี่ประการ
เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์
๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา
มี ๒๘ พระองค์คือ พระผู้ทรงพระนามว่า
ตัณหังกรเป็นอาทิ พระพุทธเจ้าผู้จอมมุนีทั้งหมดนั้น
๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร
ข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้า
องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดิษฐานอยู่บนศีรษะพระธรรม
อยู่ที่ดวงตาทั้งสอง พระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก
๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะวามะเก
พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจ พระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา
พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญาโกณทัญญะอยู่เบื้องหลัง
๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุโล
กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุงวามะโส ตะ เก
พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวา
พระกัสสะปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย
๖.เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว
มุนีผู้ประเสริฐคือ พระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดัง
พระอาทิตย์ส่องแสงอยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง
๗.กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก
โส มัยหัง วะทะเนนิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร
พระเถระกุมาระกัสสะปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ
มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ
๘.ปุณโณ อังคุลิมาโลจะ อุปาลี นันทะสีวะลี
เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ตีละกา มะมะ
พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวะลี
พระเถระทั้ง ๕ นี้ จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก
๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา
สีละเต เชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา
ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือผู้มีชัยและเป็นพระโอรส
เป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย แต่ละองค์ล้วน
รุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่
๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง
ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้า พระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา
พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง
๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง
อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา
พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตร
เป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ
๑๒.ชิ นา นานา วะระสังยุตตา สัตตะปาการะลังกะตา
วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา
อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้
ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคง
สัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น
๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา
วะสะ โต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร
ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้าไม่ว่าจะทำกิจการใดๆ
เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อม
แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวะทุกข์ทั้งภายนอกและภายใน
อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดี เป็นต้น
เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ
๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮีตะเล
สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพเต มะหาปุริสาสะภา
ขอพระมหาบุรุษผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น
จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้น ท่ามกลางพระชินบัญชร
ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดีฉะนี้แล
๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะปัญชะเรติ
ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวอันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพ แห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ
อานิสงส์พระคาถาชินบัญชร
        พระคาถาชินบัญชรนี้เป็นคาถาที่ศักดิ์สิทธิ์ยิ่งนัก ตกทอดมาจากลังกา เจ้าพระคุณสมเด็จฯ ค้นพบในคัมภีร์โบราณ ได้ดัดแปลงแก้ไขแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ ได้เนื้อถ้อยกระทงความสมบูรณ์ แปลออกมาแล้วแต่มีสิ่งสิริมงคลแก่ผู้สวดภาวนาทุกประการ

        พระคาถานี้เป็นการอัญเชิญพระพุทธานุภาพแห่งพระบรมศาสดา สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระพุทธเจ้าที่ได้เคยมาตรัสรู้ก่อนหน้านี้ จากนั้นเป็นอัญเชิญพระอรหันต์ขีณาสพ อันสำเร็จคุณธรรมวิเศษแต่ละองค์ไม่เหมือนกัน นอกนั้นยังอัญเชิญพระสูตรต่าง ๆ อันโบราณาจารย์เจ้าถือว่าเป็นพระพุทธมนต์อันวิเศษ ตั้งแต่กระหม่อมจอมขวัญของผู้ภาวนา พระคาถาลงมาจนล้อมรอบตัว จนกระทั่งหาช่องโหว่ให้อันตรายสอดแทรกเข้ามามิได้

อานุภาพแห่งพระคาถาชินบัญชร
        ผู้ใดได้สวดภาวนาพระคาถาชินบัญชรนี้เป็นประจำอยู่สม่ำเสมอ จะทำให้เกิดความสิริมงคลสมบูรณ์พูนผล ศัตรูหมู่พาลไม่กล้ากล้ำกลาย ไปทางใดย่อมเกิดเมตตามหานิยม เกิดลาภผลทวี ขจัดภัยจากภูตผีปีศาจ ตลอดจนคุณไสยต่าง ๆ ทำน้ำมนต์รดแก้วิกลจริตแก้สรรพโรคภัยหายสิ้นเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต มีคุณานุภาพตามแต่จะปรารถนาดังคำโบราณว่า “ฝอยท่วมหลังช้าง” จะเดินทางไปที่ใด ๆ สวด 10 จบ แล้วอธิษฐานจะสำเร็จสมดังใจ

สมเด็จฯ แปลคติธรรมในท่านั่ง
         จากท่านั่งของสมเด็จฯ ที่กำมือทั้งสองไว้ระหว่างอกนั้น เป็นการสร้างปริศนาให้ท่านที่มีความเคารพและศรัทธาในองค์ท่านได้ขบคิดปริศนาธรรม ทำไมท่านทำท่าเช่นนั้น เมื่อได้พิจารณาอย่างถี่ถ้วนแล้ว ปริศนาธรรมนี้มีความหมายอยู่ 2 ประการ สองมือที่กำซ้อนกันอยู่นั้น หมายถึงกรรม 2 อย่าง คือ กรรมดี และกรรมชั่ว การที่ท่านอยกขึ้นไว้ใกล้กับหัวใจนั้น หมายถึงใจเป็นตัวต้นเหตุให้เกิดการกระทำต่าง ๆ ขึ้นมา ฉะนั้น การกระทำใด ๆ ทั้งทางกาย ทั้งทางวาจา และใจ ต้องใคร่ครวญเสียก่อนว่า ที่จะทำ จะพูด จะคิดนั้น ถูกหรือผิด จะดีหรือจะชั่ว ต้องมีสติ อย่าปล่อยให้กิเลสครอบงำจิตใจ คิดและใคร่ครวญให้รอบคอบเสียก่อนแล้วจึงกระทำแต่สิ่งที่ถูกต้องและสมควร

         คติธรรมที่สมเด็จฯ ประทานไว้ในท่าที่นั่งของท่านนี้ จะเป็นประโยชน์ยิ่งแก่สาธุชนผู้นำไปปฏิบัติ ทั้งแก่ตนเอง ครอบครัวและแก่สังคม

หมายเหตุ: คำแนะนำทั้งหมดสำหรับผู้ที่มีความศรัทธามั่นคงใน สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) และเป็นผู้ที่มีคุณธรรมประจำใจประพฤติตัวอยู่ในศีล ผู้นั้นก็จะได้รับความสุขและรอดพ้นจากภัยพิบัติต่าง ๆ นอกจากว่าจะเกิดจากกรรมในอดีต ส่งผลมาถึงท่านก็ช่วยให้หนักเป็นเบาได้ ขอให้ทำเป็นประจำ และช่วยกันเผยแพร่ต่อ ๆ ไปด้วยเป็นการเพิ่มกุศลให้กับตนเอง

         ตอนก่อนจะออกจากบ้านทุกเวลา ให้พนมมือ สวดนะโม… 3 จบแล้วว่า “ชินะปัญชะระปะริตตังมัง รักขะตุ สัพพะทา” 3 จบ “ขอพระชินบัญชรปริตร จงรักษาข้าพเจ้า ตลอดเวลาทุกเมื่อ
                                                สวดพุทธคุณ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

๑. พุทธคุณ
อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถาเทวมนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ

๒. ธรรมคุณ
สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหิติ

๓. สังฆคุณ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทังจัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆอาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ
                 บัดนี้เป็นวาระสุดท้ายแห่งเราแล้ว... เราขอเตือนเธอทั้งหลายให้จำมั่นไว้ว่า... สิ่งทั้งปวงมีความเสื่อม และสิ้นไปเป็นธรรมดา เธอทั้งหลายจงอยู่ด้วยความไม่ประมาทเถิด
พระไตรปิฎก

๑.   
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วัจจะโส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วัจจะโส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน วัจจะโส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วัจจะโส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วัจจะโส ภะคะวา
๒.
อะระหัง ตัง สะระณัง คัจฉามิ
อะระหัง ตัง สิระสา นะมามิ
สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ
วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสา นะมามิ
สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ
สุคะตัง สิระสา นะมามิ
โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ
โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ
๓.
อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วัจจะโส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วัจจะโส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วัจจะโส ภะคะวา
๔.
อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ
อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ
ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ
ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสา นะมามิ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
พุทธัง สิระสา นะมามิ
๕.
อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา
๖.
อิติปิ โส ภะคะวา ปะถะวีจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เตโชจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วาโยจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อาโปจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
๗.
อิติปิ โส ภะคะวา ยามาธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตาธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระติธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
๘.
อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมาฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
๙.
อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะเนวะสัญญานา
สัญญายะตะนะอะรูปาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณัญจายะตะนะ เนวะสัญญานา
สัญญายะตะนะอะรูปาวะ จะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ เนวะสัญญานา
สัญญายะตะนะ อะรูปาวะ จะระธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
๑๐.
อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปะฏิมัคคะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
๑๑.
อิติปิ โส ภะคะวา โสตาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
๑๒.
กุสะลา ธัมมา
อิติปิ โส ภะคะวา
อะ อา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ชมภูทีปัญจะอิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
นะโม พุทธายะ
นะโม ธัมมายะ
นะโม สังฆายะ
ปัญจะ พุทธา นะมามิหัง
อา ปา มะ จุ ปะ
ที มะ สัง อัง ขุ
สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ
อุ ปะ สะ ชะ สุ เห ปา สา ยะ
โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ
เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว
อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ ภุ พะ
อิ สวา สุ สุ สวา อิ
กุสะลา ธัมมา
จิตติวิอัตถิ
๑๓.
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง
อะ อา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
สา โพธิ ปัญจะ อิสาะโร ธัมมา
๑๔.
กุสะลา ธัมมา
นันทะวิวังโก
อิติ สัมมาพุทโธ
สุ คะ ลา โน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
จาตุมะหาราชิกา อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
อิติ วิชชาจะระณะสัมปันโน
อุ อุ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตาวะติงสา อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
นันทะ ปัญจะ สุคะโต โลกะวิทู
มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ยามา อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
พรหมมาสัททะ
ปัญจะ สัตตะ
สัตตาปาระมี
อะนุตตะโร
ยะมะกะขะ
ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
๑๕.
ตุสิตา อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
ปุ ยะ ปะ กะ
ปุริสะทัมมะสาระถิ
ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
๑๖.
นิมมานะระติ อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
เหตุโปวะ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง
ตะถา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
๑๗.
ปะระนิมมิตะ อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
สังขาระขันโธ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
รูปะขันโธ พุทธะปะผะ
ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
๑๘.
พรหมมา อิสสะโร
กุสะลา ธัมมา
นัจจิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
นะโม พุทธัสสะ
นะโม ธัมมัสสะ
นะโม สังฆัสสะ
พุทธิลา โลกะลา กะระกะนา
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ
หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ
๑๙.
นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ
วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ
อัตติ อัตติ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ
หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ
๒๐.
อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง
พรหมะสาวัง มะหาพรหมะสาวัง
จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง
เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง
อิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง
มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง
สัปปุริสาวัง มะหาสัปปุริสาวัง
พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง
อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกา
อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
๒๑.
สาวัง คุณัง วะชะพะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง นิพพานัง
โมกขัง คุยหะกัง
ถานัง สีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ตัปปัง สุขัง
สิริรูปัง จะตุวีสะติเสนัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ
หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ
๒๒.
นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม อิติปิโส ภะคะวา
๒๓.
นะโม พุทธัสสะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
๒๔.
นะโม ธัมมัสสะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
๒๕.
นะโม ธัมมัสสะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ
สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
๒๖.
นะโม สังฆัสสะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ
สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง
๒๗.
นะโม พุทธายะ
มะอะอุ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
ยาวะ ตัสสะ หาโย
นะโม อุอะมะ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
อุ อะมะ อาวันทา
นะโม พุทธายะ
นะ อะ กะ ติ นิ สะ ระ นะ
อา ระ ปะ ขุ ธัง มะ อะ อุ
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา
จบ.  Lips Sealed
บทกรวดน้ำ (อุทิศส่วนกุศล)
อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร
- ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้า จงมีความสุข
อิทัง เม ญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
- ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า จงมีความสุข
อิทัง เม คุรูปัชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจริยา
- ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แด่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ จงมีความสุข
อิทัง สัพพะ เทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เทวา
- ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลาย ขอให้เทวดาทั้งหลายจงมีความสุข
อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา
- ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่เปรตทั้งหลาย ขอให้เปรตทั้งหลาย จงมีความสุข
อิทัง สัพพะ เวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี
- ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย จงมีความสุข
อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพสัตตา
- ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข


บันทึกการเข้า

พรเทพ-LSV team♥
รับติดตั้งจานดาวเทียม ลาดพร้าว บางกะปิ
Senior Member
member
*

คะแนน1453
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 12125

091-091-9196 ID LINE : tv59


เว็บไซต์
« ตอบ #1 เมื่อ: มีนาคม 03, 2007, 09:14:51 am »

บทสุดท้าย เป็นยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏก  ไม่ใช่หรือครับ  Tongue

(สวดจบแล้วต้อง กรวดน้ำด้วยครับ  Tongue )
บันทึกการเข้า

BenQ
member
*

คะแนน214
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4790


อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: มีนาคม 03, 2007, 09:33:38 am »

เมื่อเช้าไปทำบุญมาแล้วครับ......................................... Wink Smiley Smiley Smiley
บันทึกการเข้า
ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 18843


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #3 เมื่อ: มีนาคม 03, 2007, 08:46:05 pm »

พาครอบครัวไปทำบุญ..นั่งเจริญสมาธิ...เวียนเทียน..เพิ่งกลับมาครับ  Tongue Smiley
บันทึกการเข้า
supoj007
member
*

คะแนน286
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1555



อีเมล์
« ตอบ #4 เมื่อ: มีนาคม 04, 2007, 10:16:05 pm »

ก่อนเดินทาง....เช้าวันเสาร์..ก็ได้ไปวัดป่าทับทิมแดงข้างร้านพาลูกภรรยา.ทำบุญ ฟังธรรม นั่งสมาธิ        .วันมาฆะบูชา..ซึ่งเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา..เป็นวันที่ประชุมใหญ่วิสามัญ.เพื่อทรงประกาศ นโยบาย..เผยแพร่หลักคำสอน..เพื่อเป็นแนวทางเดียวกัน.ให้แต่พระอรหันตสาวก..ซึ่งล้วนเป็นผู้พระพุทธองค์ทรงเปล่งพระวาจาว่า เอหิภิกขุ อุปสัมปทา..คือทรงบวชให้นั่นเอง..มาตั้ง 1250 รูป ไม่ได้มี Vedeo conferrang..ไม่ได้ Email  Tongue( มาด้วยกระแสจิตส่งตรงซึ่งกันและกันพระผู้ที่มีฌาณสมาบัติสมาธิกระแสจิต จะสูง ใช่โทรจิตคุยกัน นี่เป็นความคิดของผมนะ)
แต่มาเฝ้าตรงต่อพระพุทธองค์ที่ทรงประทับอยู่มหาวิหารชื่อว่า เวฬุวัน (เวฬุวัน วัดที่เต็มไปด้วยป่าไม้ใผ่)กรุงราชคฤค์ แคว้นเมืองมคธ วันนี้ ตรงกันกับวันเพ็ญ ขึ้น 15 ค่ำพระจันทร์ส่องกระจ่างในเดือน มาฆะมาสเดือนสาม   พระองค์ทรงแสดงประกาศ โอวาทปาฏิโมก 3 ข้อ เป็นแนวหลักทางพุทธศาสนาคือ
 1. สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่ทำบาปทั้งปวง (ไม่ว่าจะด้วยกาย วาจา หรือใจ)
2. กุสลสฺสูปสมฺปทา การบำเพ็ญกุศลให้ถึงพร้อม (ความดีหรือบุญนั้น แม้เพียงเล็กน้อย ก็อย่าไปดูถูก ว่าจะไม่ให้ ผล เพราะขึ้นชื่อว่าบุญ ไม่ว่ามากหรือน้อย ย่อมให้ผลเป็นความสุขทั้งนั้น)
3. สจิตฺต ปริโยทปนํ การกลั่นจิตใจของตนให้ผ่องใส (คิด พูด ทำแต่ในสิ่งที่ดี หมั่นเจริญภาวนาให้มาก มีโยนิโสมนสิการ คือการจับแง่คิดในทางที่ถูกต้อง จะทำให้ใจไม่ฟุ้งซ่าน ผ่องใสอยู่เสมอ
)
              หลักอุดมการณ์ให้ยึดมั่นกับการเป็นนักบวชอีกสามข้อ..คือ
1. ขนตี ปรมํ ตโป ตีติกขา ความอดทน คือความทนทาน เป็นตบะอย่างยิ่ง (ต้องมีควาามอดทนและเข้มแข็ง อดกลั้นต่ออำนาจฝ่ายต่ำของกิเลสที่คอยชักจูงให้กระทำผิด)
 2. นิพพานํ ปรมํ วทนติ พุทธา ท่านผู้รู้ทั้งหลาย ย่อมกล่าวพระนิพพานว่าเป็นเยี่ยม (ต้องมุ่งความดับทุกข์ โดยมีขันติเป็นเครื่องกำจัดกิเลสให้หมดไปตามลำดับ จนถึงที่สุดแห่งทุกข์ คือพระนิพพาน)
 3. นหิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี สมโณ โหติ ปรํวิเหฐยนฺโต บรรพชิตผู้ฆ่าสัตว์อื่น เบียดเบียนสัตว์อื่น ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะ เลย (ผู้รักความสงบ ไม่ฆ่าสัตว์ตัดขีวิต ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน)

           ทรงบอกวิธีการให้ภิกษุปฏิบัติ อีก 6 อย่าง เพื่อจะเรียกศัทธาความเลื่อมใส มั่นคงของผู้เป็นพุทธมามะกะคือ
1. อนูปวาโท การไม่เข้าไปว่าร้ายกัน (ระวังคำพูดไม่ให้เป็นการกล่าวว่าร้ายใคร หรือพูดโจมตีใคร)
2. อนูปฆาโต การไม่เข้าไปทำร้ายกัน (ระวังมือระวังเท้าไม่ให้ทำชั่ว ไม่ว่าจะเป็นการข่มขู่หรือบังคับ)
3. ปาฏิโมกฺเข จ สงฺวโร ความสำรวมในพระปาฏิโมกข์ (สำรวมการประพฤติปฏิบัติให้อยู่ใน วินัยและศีลธรรม อันดีตลอดเวลา)
4. มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ เป็นผู้รู้ประมาณในภัตตาหาร (รู้จักประมาณในการบริโภคอาหาร จะทำให้สุขภาพดี ส่งผลให้การปฏิบัติธรรมมีความเจริญก้าวหน้า)
5. ปนฺตญฺจ สยนาสนํ ที่นอนที่นั่งอันสงัด (มุ่งเจริญสมณธรรมความเงียบสงัดจะทำให้จิตใจสงบ ใจรวมเป็นหนึ่งได้เร็ว)
6. อธิจิตฺเต จ อาโยโค ประกอบความเพียรในอธิจิต (หมั่นทำสมาธิภาวนาโดยไม่ทอดธุระ)
                            หากจะวิเคราะห์โดยหลักใหญ่ๆแล้ว จะเห็นได้ว่า พระพุทธองค์ ได้ทรงวางรากฐานไว้ให้เหล่าบรรดา พุทธบริษัท..ทั้ง 4 คือ อุบาสก(เราๆท่านๆ) อุบาสิกา+ภิกษุ+ภิกษุณีได้แน่นมาก..ทั้งด้านการบริหารตน+บริหารคนอื่น+บริหารคำสอน..ให้ยึดหลักเพื่อรักษาคำสั่งสอนเพื่อไม่ให้ผิดเพี้ยนไป...นั่นเอง
                             ส่วน การณ์สวดมนต์ไหว้พระ..เป็นอุบายอันเป็นกุศล ฝึกตนเอง เป็นกิจวัตรอันดีงามหากใครได้ประพฤติเป็นกิจวัตรประจำวัน จะเกิดศิริมงคล..เสริมจิตใจใฝ่ดี ไม่ให้ตกไปในทางชั่วง่ายๆ  เพราะความชั่วมันอยู่รอบตัวเรา หากไม่รีบทำดีความชั่วจะไหลเข้ามาแทน..ได้ง่าย แต่ไม่ได้หมายว่าใครไม่สวดมนต์จะเป็นคนชั่วนะครับ... Tongue
  พระสายปฏิบัติมักสอนให้เราดูตัวเอง..ไม่ให้มองคนอื่นว่าเขาเป็นเช่นไร..ท่านให้มองตัวเรา ความรู้สึกเรา รู้ทันตัวเองหรือเปล่าว่า  ขณะนี้ เรากำลังโกรธ กำลังเกลียดใครหรือเปล่า..ถ้ารู้แล้ว ดับได้ไหม..มีสติรู้ต่อไหมว่ากำลังทำอะไรต่อสิ่งที่ ตาได้เห็นที่เป็นมงคลและอวมงคล  หูได้ยินเสียงด่าชม รับได้ไหม..จมูกรับกลิ่นเหน่าเหม็น หอมหวล..เรารู้สึกโกรธชอบอย่างไร..ลิ้นสัมผัสรสเปรี้ยวหวานมันเค็ม เผ็นร้อน..เราปรุงแต่งอารมณ์ชอบไม่ชอบ โกรธรัก อย่างไร..กับทวารเหล่านั้น ผมมักจะรู้สึกทราบซึ้งกับธรรมที่ได้คิดวิเคราะห์..เสมอว่า..ทำไมเป็นคำสอนที่เต็มเป็นด้วย..อุบายง่ายๆแต่ได้ผล...เหมือนคำ พระมหา ว. พูดไว้เลย..คำสอนพระพุทธเจ้าคือเรื่องธรรมชาติง่ายๆ แต่ยากที่คนจะปฏิบัติ..แต่หากใช้ปัญญาวิเคราะห์แล้ว จะทำให้ธรรมยากๆ กลับปฏิบัติง่ายๆ ไม่ยากเลย..เว้นแต่คนไม่ยอมปฏิบัติเอง..จึงคิดว่าคำสอนง่ายๆปฏิบัติยาก..
                                   Tongue Tongueมหา (หิงคฺ)สุพจน์ เรียบเรียง จากผู้รู้ และเรียนรู้ จากตำรา Grin Grin
บันทึกการเข้า
dekwat♥
member
*

คะแนน458
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 303



« ตอบ #5 เมื่อ: มีนาคม 04, 2007, 10:52:28 pm »

สาธุ๊.....
บันทึกการเข้า
gasin
member
*

คะแนน0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 25


อีเมล์
« ตอบ #6 เมื่อ: มีนาคม 29, 2007, 11:28:01 am »

ผมสวดมนต์ไม่ถนัด   แต่เจริญสมาธิพอได้  1ชม.  เหมือนไม่นานชอบการกำหนดจิตมากกว่าครับ
ขออนุโมทนาบุญกับท่านที่สวดเป็นประจำด้วยครับ
บันทึกการเข้า
supoj007
member
*

คะแนน286
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1555



อีเมล์
« ตอบ #7 เมื่อ: มีนาคม 30, 2007, 01:55:35 pm »

ผม ครึ่งชั่งโมง ขาชาแล้ว...แต่ลูกชายทำสถิติตอนบวชเณร 2 ชม..54นาที ขาดอีก 6 นาที 3 ชม.  ดูตามบันทึกพระอาจารย์ที่ดูแล การฝึก  มีบางรูปได้ 4 ชม.20 นาที
บันทึกการเข้า
worathep-LSV team
.กลุ่มผู้มีน้ำใจงาม.
member
*

คะแนน712
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5066


รุ่งเรืองอิเล็กทรอนิกส์


อีเมล์
« ตอบ #8 เมื่อ: มีนาคม 30, 2007, 03:13:57 pm »

ผู้ที่ให้ธรรมะ ย่อมถือว่าให้ทุกอย่าง   สาธุ สาธุ สาธุ
บันทึกการเข้า

รับซ่อม TV-computer                    มี TV มือสองขาย  
รับสอนซ่อม-ประกอบคอมพิวเตอร์      มีจอมอนิเตอร์มือสองขาย
ซ่อม อัพเกรด ประกอบคอมฯ             มีคอมพิวเตอร์มือสองขาย
รับติดตั้ง วางระบบแลน อินเตอร์เน็ต
ราคาคุยกันได้ โทร 02-6934724
Hooto cha-am
ซุปเปอร์ วีไอพี
member
*

คะแนน182
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 674



อีเมล์
« ตอบ #9 เมื่อ: พฤษภาคม 05, 2007, 10:40:54 pm »

ผม ครึ่งชั่งโมง ขาชาแล้ว...แต่ลูกชายทำสถิติตอนบวชเณร 2 ชม..54นาที ขาดอีก 6 นาที 3 ชม.  ดูตามบันทึกพระอาจารย์ที่ดูแล การฝึก  มีบางรูปได้ 4 ชม.20 นาที
F


โห...........นั่งสมาธิได้นานเป็นชั่วโมง ..................เก่งมากครับ                  ผมห้านาทีก็ทนไม่ค่อยได้แล้วครับ
บันทึกการเข้า
supoj007
member
*

คะแนน286
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1555



อีเมล์
« ตอบ #10 เมื่อ: พฤษภาคม 06, 2007, 01:35:41 pm »

 
อ้างถึง
ผมห้านาทีก็ทนไม่ค่อยได้แล้วครับ
Tongue  เด็กเหมือนผ้าขาวครับ....ไม่มีเรื่องคิดมากเหมือนเราๆท่านๆ   Tongue
บันทึกการเข้า
Nattawut-LSV Team
E23IUY
.กลุ่มผู้มีน้ำใจงาม.
member
*

คะแนน808
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3581


อีเมล์
« ตอบ #11 เมื่อ: พฤศจิกายน 05, 2008, 05:49:01 pm »

      สัพพะธานัง ธรรมะธานัง ชินาติ 
          การให้ธรรมมะเป็นทาน ชนะการให้ทั้งปวง
บันทึกการเข้า
Nattawut-LSV Team
E23IUY
.กลุ่มผู้มีน้ำใจงาม.
member
*

คะแนน808
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3581


อีเมล์
« ตอบ #12 เมื่อ: พฤศจิกายน 05, 2008, 05:53:14 pm »


  ผมสวดเฉพาะวันพระครับ 
แต่ก่อนนอนสวดคาถาชินบัญชรและแผ่เมตตาครับ
บันทึกการเข้า
ampmobile
member
*

คะแนน4
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 46


คุณภาพยังคงเป็นที่จดจำกันได้นาน


เว็บไซต์ อีเมล์
« ตอบ #13 เมื่อ: พฤศจิกายน 05, 2008, 06:21:23 pm »

พระพุทธเจ้าเคยอบรมสั่งสอนมนุษย์ไว้ว่า
ทรัพย์สินที่พึงได้จากการประกอบ กิจการงานต่าง ๆ นั้น ควรแบ่งออกเป็น 4 กองเท่าๆ กัน

กองแรก เก็บสะสมไว้ใช้ยามขัดสน
กองสอง ใช้จ่ายเพื่อทดแทนผู้มีพระคุณ
กองสาม ใช้เพื่อความสุขส่วนตัว
กองสี่ ใช้เพื่อสร้างสรรค์ความดีงามให้แก่สังคม

แล้วการทำงานของมนุษย์ล่ะ
หลายคนยังมัววุ่นแก่การทำงานโดยไม่ ยอมแบ่งเวลาเหลียวหลังมองถึง
บุคคลที่รักและห่วงใยตนเองเลยหรือ ?

มนุษย์บางคนทุ่มเวลาทั้งหมดให้แก่หน้าที่การงาน
พร้อมกับคิดว่า
การกระทำดังนี้เป็นเรื่องที่ถูกต้อง แล้ว
แต่นั่นคือการกระทำที่โง่เขลาเป็น ที่สุด

ทุกคนมีเวลาวันละ 24 ชั่วโมงเท่า ๆ กัน
แต่ผู้ใดที่ทุ่มเวลาทั้งหมดให้กับ งาน
โดยไม่ยอมแบ่งปันเวลาให้แก่ผู้ใด
แม้กระทั่งตัวเองเป็นมนุษย์ที่เขลา เบาปัญญาที่สุด บริหารไม่ได้แม้กระทั่งเวลา
24 ชั่วโมงของตัวเองในแต่ละวันแล้ว มนุษย์ผู้นั้นจะบริหารอะไรได้

ทำไมมนุษย์ผู้ชาญฉลาดจึงไม่แบ่งปันเวลา
ให้เสมือนหนึ่งการแบ่งปันกองเงิน
ตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าบ้างเล่า ...

ไม่ต้องแบ่งเวลาให้เป็นสี่กองเท่า ๆ กันหรอก
เพียงแต่แบ่งปันเวลาในแต่ละส่วนให้ เหมาะสมเท่านั้น

8 ชั่วโมงสำหรับการทำงาน เพื่อความก้าวหน้ามั่นคงในชีวิต
8 ชั่วโมงสำหรับการพักผ่อนเก็บเรี่ยวแรงไว้ต่อสู้กับหน้าที่ การงานและอุปสรรคในวันพรุ่งนี้
5 ชั่วโมงสำหรับการเดินทาง เพื่อประกอบกิจการต่าง ๆ
2 ชั่วโมงสำหรับโลกส่วนตัวของตนเอง
59 นาที สำหรับดูแลและรักษาความสะอาดของที่อยู่อาศัย และช่วยเหลือสังคม

และ 1 นาทีของคุณ
บันทึกการเข้า

Nattawut-LSV Team
E23IUY
.กลุ่มผู้มีน้ำใจงาม.
member
*

คะแนน808
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3581


อีเมล์
« ตอบ #14 เมื่อ: ธันวาคม 21, 2008, 08:38:08 am »

 wav!!  THANK!! THANK!! THANK!!  wav!!
บันทึกการเข้า
kittanan_2589
.กลุ่มผู้มีน้ำใจงาม.
member
*

คะแนน630
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2363


NightBaron


เว็บไซต์
« ตอบ #15 เมื่อ: กันยายน 11, 2009, 05:28:59 am »

ผมก็สวดเฉพาะวันพระครับ...
วันธรรมดาสวด คาถาชินบัญชร
 
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป: