หัวข้อ: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: fame ที่ กุมภาพันธ์ 26, 2008, 07:52:52 pm ครับคือว่าผมอยากรู้ว่าcapของพัดลมชุดคอนเดนซิ่งเสีย5ไมโคร370V ซึ่งเป็นตัวใหญ่ แต่ถ้าผมเอาCapค่าเท่ากันแรงดันเท่ากันแต่เป็นCapของพัดลมแบบตั้งโต๊ะเป็นแบบสี่เหลี่ยมตัวเล็กสีดำแบนนำมาใช้งานได้หรือไม่ครับ
หัวข้อ: Re: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: BenQ ที่ กุมภาพันธ์ 26, 2008, 10:21:35 pm น่าจะได้ครับ V ต้องไม่ต่ำกว่าเดิม ( ว่าแต่ผมยังไม่เคยลอง :P )
หัวข้อ: Re: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: tu2522-LSVteam♥ ที่ กุมภาพันธ์ 27, 2008, 12:51:03 am ใส่แทนได้เลยครับ
หัวข้อ: Re: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: tv_2007 ที่ กุมภาพันธ์ 27, 2008, 07:39:20 am ขอบคุณครับทุกท่าน
หัวข้อ: Re: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: too_service ที่ มีนาคม 03, 2008, 04:52:30 pm อย่าลืมดูค่าอุณหภูมิที่ตัวCap ถ้าต่ำกว่าตัวเดิมอาจจะไม่ทนนะครับ :P
หัวข้อ: Re: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: tha ที่ มีนาคม 14, 2008, 01:55:58 pm ใส่แทนกันได้ครับ แต่ไม่นาน cap ระเบิด เพราะไม่ได้ผลิตมาให้ใช้กับแอร์ซึ่งมีกระแสสูงกว่าพัดลมครับ ;D
หัวข้อ: Re: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: jume ที่ มีนาคม 14, 2008, 03:58:24 pm ใส่แทนได้เลยครับ ถ้า uf เท่า V เท่าใช้กันได้ครับ ชัวว์ 100% งานนี้ไม่เกี่ยวกับกระแสครับหัวข้อ: Re: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: BenQ ที่ มีนาคม 14, 2008, 09:45:59 pm ใส่แทนกันได้ครับ แต่ไม่นาน cap ระเบิด เพราะไม่ได้ผลิตมาให้ใช้กับแอร์ซึ่งมีกระแสสูงกว่าพัดลมครับ ;D น่าคิดอยู่เหมือนกันครับ :( :( :D หัวข้อ: Re: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: boontheim ♥ ที่ มีนาคม 17, 2008, 04:16:20 pm c. ประเภทเดียวกันค่าเท่ากัน แรงดันเท่ากันแทนกันได้ c. กระแสสลับมีสองแบบ 1 c. start 2 c.run
หัวข้อ: Re: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: drdr61♥ ที่ มีนาคม 17, 2008, 04:19:28 pm ผมไม่มั่นใจว่าจะ ใช้ได้นานเหมือนกันหรือเปล่า เพราะเห็นบางตัวทำมาตัวใหญ่ๆ
แต่ถ้าเป็นพัดลมเหมือนกัน ก็คงใช้ได้ล่ะนะ หัวข้อ: Re: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: jun ♥ ที่ มีนาคม 17, 2008, 10:14:58 pm ถ้ารู้หลักการของมอเตอร์ก็จะเข้าใจง่ายขึ้นครับ ที่เขาใส่ C เข้าไปเพื่อใช้ในช่วงสตาร์ทเท่านั้นหลังจากนั้นก็จะไม่เกี่ยวข้องกันครับ
การต่อ C จะต่อที่ขดสตาร์ทซึ่งค่า C จะขึ้นอยู่กับขดลวดแต่หลักการคำนวณค่า C นั้นผมลืมไปแล้ว ;D โดยหลักการคือเมื่อมีการจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าไปที่ขั้ว ของมอเตอร์กระแสไฟฟ้าส่วนหนึ่งจะวิ่งผ่านขดรันผ่านขั้วคอมมอน(ขั้วร่วมระหว่างขด รันและสตาร์ท)ลงกราวด์ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กในแนวตรง(มอเตอร์ไม่หมุน) อีกส่วนจะวิ่งผ่าน C ซึ่งต่ออนุกรมอยู่กับขดลวดสตาร์ดในขณะที่ C ไม่มีประจุจะทำให้ความต้านทานใน C เป็น 0 นั้นก็เหมือนกับเราจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับขั้วสตาร์ดโดยตรงทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเบี่ยงเบนให้เกิดการหมุนและเมื่อ C ชาร์จประจุจนเต็มก็จะทำให้ความต้านทานในตัวเบประจุเทียบเท่า อิมฟินิตี้ เหมือนเป็นการตัดขดสตาร์ทออกจากวงจรจะคงไว้เพียงขดรันเท่านั้น การที่เราจะรู้ว่าขดไหนเป็นขดสตาร์ทหรือรันก็ทำได้โดนการวัดความต้านทานของขดลวด โดยขดสตาร์ทจะมีความต้านทานสูงกว่าขดรันเสมอ ยกเว้นมอเตอร์ 3 เฟส ส่วนการใช้ C พัดลมแทนได้ไหมนั้นคำตอบคือได้ เพราะพัดลมก็คือมอเตอร์ตัวหนึ่งเหมือนกันแต่อย่าลืมดูอุณหภูมิด้วยนะครับเพราะจุดที่ติดตั้งอุณหภูมิสูงพอสมควร ;D หัวข้อ: Re: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: BenQ ที่ มีนาคม 19, 2008, 07:17:35 am ถ้ารู้หลักการของมอเตอร์ก็จะเข้าใจง่ายขึ้นครับ ที่เขาใส่ C เข้าไปเพื่อใช้ในช่วงสตาร์ทเท่านั้นหลังจากนั้นก็จะไม่เกี่ยวข้องกันครับ การต่อ C จะต่อที่ขดสตาร์ทซึ่งค่า C จะขึ้นอยู่กับขดลวดแต่หลักการคำนวณค่า C นั้นผมลืมไปแล้ว ;D โดยหลักการคือเมื่อมีการจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าไปที่ขั้ว ของมอเตอร์กระแสไฟฟ้าส่วนหนึ่งจะวิ่งผ่านขดรันผ่านขั้วคอมมอน(ขั้วร่วมระหว่างขด รันและสตาร์ท)ลงกราวด์ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กในแนวตรง(มอเตอร์ไม่หมุน) อีกส่วนจะวิ่งผ่าน C ซึ่งต่ออนุกรมอยู่กับขดลวดสตาร์ดในขณะที่ C ไม่มีประจุจะทำให้ความต้านทานใน C เป็น 0 นั้นก็เหมือนกับเราจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับขั้วสตาร์ดโดยตรงทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเบี่ยงเบนให้เกิดการหมุนและเมื่อ C ชาร์จประจุจนเต็มก็จะทำให้ความต้านทานในตัวเบประจุเทียบเท่า อิมฟินิตี้ เหมือนเป็นการตัดขดสตาร์ทออกจากวงจรจะคงไว้เพียงขดรันเท่านั้น การที่เราจะรู้ว่าขดไหนเป็นขดสตาร์ทหรือรันก็ทำได้โดนการวัดความต้านทานของขดลวด โดยขดสตาร์ทจะมีความต้านทานสูงกว่าขดรันเสมอ ยกเว้นมอเตอร์ 3 เฟส ส่วนการใช้ C พัดลมแทนได้ไหมนั้นคำตอบคือได้ เพราะพัดลมก็คือมอเตอร์ตัวหนึ่งเหมือนกันแต่อย่าลืมดูอุณหภูมิด้วยนะครับเพราะจุดที่ติดตั้งอุณหภูมิสูงพอสมควร ;D Get เลยครับ :P :D :D หัวข้อ: Re: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: boontheim ♥ ที่ มีนาคม 19, 2008, 03:18:06 pm ขอเสริม c. หรือคอนเดนเซ่อร์ ของไฟ AC มีสองประเภท
1. C . สต้าร์ท มีหน้าในการช่วย สตาร์ทมอเตอร์ครั้งแรกเท่านั้นแล้วก็มีสวิทช์ตัดขดสตาร์ท และ C ออกจากวงจร 2 c run หน้าที่สตาร์ทมอเตอร์ ต่ออนุกรมกับขดสตาร์ทเหมือน แต่ไม่มีสวิทช์ตัดออก มอเตอร์บางชนิดมีทั้ง C. STAR และ C. RUN ในตัวเดียวกัน เข่น คอมเพสเซ่อร์ ตู้แช่ 2 หัวข้อ: Re: CAPACITORของแอร์ เริ่มหัวข้อโดย: BenQ ที่ มีนาคม 19, 2008, 08:04:21 pm :D :D :D :P
|