วงจรประหยัดไฟฟ้า 3เฟส มีหลักการคือ
LSVคลังสมองออนไลน์ "ปีที่14"
พฤศจิกายน 24, 2024, 02:27:55 pm *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: วงจรประหยัดไฟฟ้า 3เฟส มีหลักการคือ  (อ่าน 12927 ครั้ง)
was
member
*

คะแนน5
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 72


was


« เมื่อ: พฤษภาคม 10, 2009, 04:41:03 pm »

 Sad อุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้าแบบ เพสเดียวคงเป็นไปไม่ได้ แต่ถ้าเป็นแบบ 3 เฟสคงมีทางเป็นไปได้
หลักการที่ผมคิดคือ ทำให้ค่ากระแสเท่าๆกันเพราะถ้าต่างกันเมีอไรจะเกิดความร้อนขึ้นที่หม้อแปลงโดยทันทีนั้นหมายถึงการสูญเสียพลังงานโดยทันที
เพราะโดยหลักการ แคปแบ็งค์คงช่วยได้ไม่มาก


บันทึกการเข้า

boom
member
*

คะแนน9
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 217

boom464_44@hotmail.com
อีเมล์
« ตอบ #1 เมื่อ: พฤษภาคม 10, 2009, 09:46:52 pm »

balance load หม้อแปลงครับ
capbank มีไว้ลดค่า power factor ครับ เอาไว้แก้โหลดประเภทมอเตอร์ครับ เพื่อทำให้ค่า L กันค่า C มันเสมอกันเพื่อลดค่าสูญเสียครับ
บันทึกการเข้า
momayspeed
member
*

คะแนน0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1


อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: สิงหาคม 20, 2009, 11:16:46 pm »

มีวิธีการทำหรือเปล่าครับ
บันทึกการเข้า
netteen
member
*

คะแนน10
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 205


ไม่มีสิ่งใดทำไม่ได้ ถ้ามีความพยายาม


อีเมล์
« ตอบ #3 เมื่อ: สิงหาคม 29, 2009, 07:58:37 pm »

Capacitor Bank  ไม่ได้มีไว้เพื่อลดค่า  Power Factor ครับและก็ไม่ได้มีไว้เพื่อ ทำให้ค่า L ค่า C เสมอกัน แต่จะช่วยจ่ายพลังงานไฟฟ้าเสมือนให้กับโหลดประเภทเหนี่ยวนำเช่น แอร์ ตู้เย็น มอเตอร์ เป็นต้น และจะเพิ่มค่า  Power Factor ให้สูงขึ้นให้ใกล้เคียง 1 มากที่สุด โดยตามมาตฐานของการไฟฟ้าอยู่ที่ 0.85  นั่นคือการปรับปรุงค่าเพาเวอร์เฟกเตอร์ให้สูงขึ้น  ซึ่งการติดตั้ง Capacitor Bank ช่วยได้มากในการประหยัดค่าไฟ  เหมาะสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม และอาคาร  แต่ต้องมีการติดตั้งอุปกรณ์ซึ่งมีการลงทุนที่สูงพอสมควร อย่างไรก็ตามในระยะยาวแล้ว การแก้ไขค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้านับเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า   Undecided

การติดตั้ง Capacitor Bank มีประโยชน์หลายด้าน   Wink
 1.ระบบไฟฟ้าสามารถรับโหลดได้เพิ่มขึ้น
2.ลดแรงดันตกในสาย และเพิ่มความความสามารถในการส่งกำลังไฟฟ้า 
3. การลดแรงดันตกในหม้อแปลง ลดการสูญเสียในหม้อแปลง
4.กำลังสูญเสียของระบบลดลง
5.ประหยัดค่าไฟฟ้า

ผลเสียของระบบไฟฟ้าที่มีค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ต่ำ HAPPY2!!
1 ต้องจ่ายค่าไฟฟ้ามากขึ้นเนื่องจากเกิดการสูญเสียพลังงานไฟฟ้าในหม้อแปลง และสาย ไฟฟ้ามากขึ้นโดยไม่จำเป็น
2 ไม่สามารถใช้หม้อแปลง และสายไฟฟ้าได้เต็มที่คุ้มค่า
3 แรงดันไฟฟ้าตกมากกว่าที่ควรอันจะกระทบกระเทือนต่อการทำงาน และทำให้อายุการ ทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าสั้นลง
4 แรงดันไฟฟ้าไม่ค่อยสม่ำเสมอ


การที่จะให้ Balance Load นั้นต้องขึ้นอยู่กับการ Design ด้วยการประมาณโหลดในแต่ละเฟสครับ
บันทึกการเข้า

ท้อนะ! แต่ไม่เคยถอย  อาย .... มัน
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1 RC2 | SMF © 2001-2006, Lewis Media

lsv2555Please follow the new website at https://www.pohchae.com

Valid CSS!