>> ใครพอรู้ ค่าพารามิเตอร์ จากผู้ผลิต Core Ferrite นี้บ้างหรือเปล่าครับ
LSVคลังสมองออนไลน์ "ปีที่14"
พฤศจิกายน 25, 2024, 05:28:18 am *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: >> ใครพอรู้ ค่าพารามิเตอร์ จากผู้ผลิต Core Ferrite นี้บ้างหรือเปล่าครับ  (อ่าน 11257 ครั้ง)
tao
member
*

คะแนน4
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 92


อีเมล์
« เมื่อ: กรกฎาคม 13, 2009, 12:10:58 pm »

พอดีได้อ่าน
และก็สงสัยเรื่องค่าที่มันบอกมา ไม่รู้ว่าใช่ค่า สนามแม่เหล็กที่จุด Sat หรือเปล่า
แต่เท่าที่เรียนมา ค่าสนามแม่เหล็ก ใช้ตัว B หรือเท่ากับ มิวH นี่นา หน่วยควรเป็น เทสลา หรือไม่ก็ เก้าซ์
ขอบคุณล่วงหน้าครับ ___/|\___


บันทึกการเข้า

prawit penboon
member
*

คะแนน35
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 345


อีเมล์
« ตอบ #1 เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2009, 09:50:02 am »

ที่เขาให้มาคือค่าเอแอล หน่วยเป็นนาโนเฮนรี่ /จำนวนรอบยกกำลังสอง
เขียนเป็นสูตรหาจำนวนรอบง่ายๆ(กดเครื่องคิดเลข)
บันทึกการเข้า
tao
member
*

คะแนน4
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 92


อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2009, 09:41:09 pm »

ที่เขาให้มาคือค่าเอแอล หน่วยเป็นนาโนเฮนรี่ /จำนวนรอบยกกำลังสอง
เขียนเป็นสูตรหาจำนวนรอบง่ายๆ(กดเครื่องคิดเลข)

ขอบคุณนะครับ  เข้าใจและะะะ
อืม...  สงสัยอีก 2 อย่างครับ
คือ แล้วทำไมมันมีหลายช่องอะครับ F2BD F2B1 F3  แถมมี F3 อีกต่างหาก
(ดาต้าชีท น่าจะขยายความมากกว่านี้นะเนี่ย จะได้ไม่งง ล่อเป็นอักษรย่อซะหมดเลย  0_o!)

อีกอย่างนึงนะครับ...
ผมไปอ่านอยู่เวบนึง คือเวบนี้
http://schmidt-walter.eit.h-da.de/smps_e/trafo_hilfe_e.html

เขาพูดประมาณว่า (แปลแบบดำน้ำเอา 0_o!)
กำลังของแกน Ferrite ที่ทรานเฟอร์ได้
ทางผู้ผลิตจะบอกมา เช่นว่า Watt per Volume หรือไม่ก็ Watt per Weight ฯลฯ
แต่ผมดูจ้าวนี้ ลองโหลดไฟล PDF มา มันบอกแต่ Losses แต่ไม่บอก Power ที่ Tranfer ได้

http://www.magnet-tech.com/catalog.htm

ไม่งั้น มันพอจะหาที่ไหนได้หรือเปล่าครับ เช่น แกน EE28 EE45 EE54 ที่พอจะหาซื้อได้
ไม่ทราบว่า  ผมอ่านตกตรงไหนไปหรือเปล่าครับ

บันทึกการเข้า
prawit penboon
member
*

คะแนน35
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 345


อีเมล์
« ตอบ #3 เมื่อ: กรกฎาคม 15, 2009, 09:23:33 am »

ไม่ทราบว่า  ผมอ่านตกตรงไหนไปหรือเปล่าครับ..
แกน โช้ค ไม่เหมือนแกนหม้อแปลง
คิดง่ายๆ แกนโช้ค ต้องการค่า แอล มาก ความต้านทานลวดต่ำ(ใช้ลวดให้สั้ที่สุด)
แกนหม้อแปลงไม่ต้องการค่าแอล เพราะเอ็กแอล จะทำให้กระแสไหลได้น้อย ได้กำลังต่ำ
บันทึกการเข้า
tao
member
*

คะแนน4
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 92


อีเมล์
« ตอบ #4 เมื่อ: กรกฎาคม 16, 2009, 01:44:28 am »



อ้อ...
ที่ผมกำลังหาข้อมูล และก็วิเคราะห์กำลังไฟฟ้านะครับ
คือ ต้องการจะหาค่าพิกัดทาง VA ที่หม้อแปลง Ferrite สามารถ Transfer ได้น่ะครับ (ประมาณที่ 75kHz ครับ)
โดยกำลังสนใจ วงจร Single Transistor Forward Converter
กับ PushPull น่ะครับ กำลังมันน่าจะพอๆ กัน ที่ เดลต้าบี พอๆ กัน เพราะเห็นว่า Flux มันหักล้างกันทาง ไพรมารี่ไวน์ดิ้ง

แต่ตอนนี้ ยังหาความสัมพันส์ หรือสูตรกำลังไฟฟ้า ที่เกี่ยวเนื่องกับ พท.หน้าตัดแกน และความถี่ไม่เจอครับ
กำลังปะติดปะต่ออยู่ แต่มันน่าจะมีสูตรนะ

ส่วน ค่า L ผมไม่กังวลเท่าไหร่ครับ
เพราะพันจริง แล้วใช้ LC มิเตอร์ วัดเอา
จากนั้น หากขาด ก็ประมาณโดยสูตรอีกรอบ และก็เพิ่มรอบครับ

ขอบคุณสำหรับคำตอบนะครับบบบบบบ  __/|\__

 Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed
บันทึกการเข้า
prawit penboon
member
*

คะแนน35
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 345


อีเมล์
« ตอบ #5 เมื่อ: กรกฎาคม 16, 2009, 04:08:50 pm »

เพาเวอร์ มันก็ วี คูน ไอ
วี มันก็สัมพันธ์กับพื้ที่หน้าตัดแกน จำนวนรอบ...
ไอ มันก็ถูกจำกัดด้วยช่องวินโดว์ของแกน
เคยคิด และแทนค่าสูตรเอาไว้  ลองตรวจสอบดูเพราะผมไม่ได้ลอง
http://www.ubmthai.com/leksoundsmf3/index.php?topic=34007.0
บันทึกการเข้า
tao
member
*

คะแนน4
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 92


อีเมล์
« ตอบ #6 เมื่อ: กรกฎาคม 16, 2009, 07:35:19 pm »


อืม... ผมหมายถึง
สมมุตว่า  เราต้องการ Power OutPut สัก 3000VA
พร้อมทั้ง Fix ความถี่การใช้งานลงไป และกำหนดรูปแบบวงจร out put ไว้
แกนที่ Support กำลังขนาดนี้ ต้องขนาดต่ำสุดเท่าไร

กระทู้ที่แนบมานั้น  ผมก็เคลียร์หมดแล้วครับ  มันสูตรอินดิ้ว Flux ธรรมดา
แต่ยังไม่สามารถหาขนาดแกน minimum ได้

อืม  เดี๋ยวผมคงต้องหาอีกระยะ

ขอบคุณสำหรับคำตอบนะครับ

 Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed
บันทึกการเข้า
prawit penboon
member
*

คะแนน35
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 345


อีเมล์
« ตอบ #7 เมื่อ: กรกฎาคม 20, 2009, 04:48:41 pm »

http://www.ubmthai.com/leksoundsmf3/index.php?topic=39109.0
คำตอบที่12 ครับ
ผู้ผลิตแต่ละราย ใช้ชื่อเรียกวัสดุที่ใช้ทำแกนต่างกัน
ตามตารางที่แนบ  แกนขนาดเดียวกัน ใช้วัสดุต่างกันก็ทำงานที่ความถี่ต่างกันและให้กำลังต่างกัน
บันทึกการเข้า
prawit penboon
member
*

คะแนน35
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 345


อีเมล์
« ตอบ #8 เมื่อ: กรกฎาคม 20, 2009, 05:04:06 pm »

อีกครั้ง.. เพาเวอร์เท่ากับ วี คูณ ไอ
แทนค่ากลับลงในสูตร ธรรมดาแหละ  ถ้าได้บีแม็กซ์ เกิน ก็ต้องเพิ่มขนาดแกน และจำนวนรอบมันก็น้อยลง
ขอแนบสูตร ที่ลอกเขามาในกรอบ ที่นอกกรอบผมลองแทนค่าดูเอง
บันทึกการเข้า
tao
member
*

คะแนน4
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 92


อีเมล์
« ตอบ #9 เมื่อ: กรกฎาคม 21, 2009, 02:17:06 pm »




ขอบคุณ มากมายครับ

พูดถึงค่า J ผมมักจะชอบใช้ ในหน่วยของ Amp/SquareMillimeter น่ะครับ
จำมาตั้งแต่ตอนเรียนเลย โดยใช้ที่ 2-5 A/sq_mm แล้วแต่ความถี่ที่ใช้งาน
เดี๋ยวผมจะลอง Tranfer ไอ้เจ้า เซอร์คิวล่ามิล กับ ตารางมิลลิเมตรสักหน่อย
ว่า Text Book เจ้านี้ เขาเซตไว้ที่ กี่ แอมป์ต่อตารางมิลลิเมตร
บันทึกการเข้า
tao
member
*

คะแนน4
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 92


อีเมล์
« ตอบ #10 เมื่อ: กรกฎาคม 21, 2009, 02:25:06 pm »



อ้อ  พึ่งนึกได้
ไอ้เจ้า เซอคิวล่ามิล ....
เซอคิวล่า = วงกลม
มิล ก็1 ในพัน ของนิ้ว
ดังนั้น  มันน่าจะเป็น พท.หน้าตัดลวดแบบวงกลม
ซึ่งน่าจะเท่ากับ พาย ส่วนสี่ ดี กำลังสอง มิใช่ ฤ
บันทึกการเข้า
tao
member
*

คะแนน4
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 92


อีเมล์
« ตอบ #11 เมื่อ: กรกฎาคม 21, 2009, 02:36:06 pm »

อีกครั้ง.. เพาเวอร์เท่ากับ วี คูณ ไอ
แทนค่ากลับลงในสูตร ธรรมดาแหละ  ถ้าได้บีแม็กซ์ เกิน ก็ต้องเพิ่มขนาดแกน และจำนวนรอบมันก็น้อยลง
ขอแนบสูตร ที่ลอกเขามาในกรอบ ที่นอกกรอบผมลองแทนค่าดูเอง


ขอบคุณ มากมายครับ

พูดถึงค่า J ผมมักจะชอบใช้ ในหน่วยของ Amp/SquareMillimeter น่ะครับ
จำมาตั้งแต่ตอนเรียนเลย โดยใช้ที่ 2-5 A/sq_mm แล้วแต่ความถี่ที่ใช้งาน
เดี๋ยวผมจะลอง Tranfer ไอ้เจ้า เซอร์คิวล่ามิล กับ ตารางมิลลิเมตรสักหน่อย
ว่า Text Book เจ้านี้ เขาเซตไว้ที่ กี่ แอมป์ต่อตารางมิลลิเมตร

โอ้  เคลียร์ล่ะครับ
ฝรั่ง มะม่วง..  มันคิดที่ J=3 นิดๆ พอๆ กับที่ผมคิดไว้ครับ (ผมชอบใช้ J=3  A/sq_mm ครับ กับหม้อแปลงขนาดไม่ใหญ่)
ประมาณนี้ คือ
มันคิด 500 เซอต่อแอมป์
แสดงว่า ต้องเท่ากับ 1500 เซอร์ต่อ 3แอมป์ (ผมทำให้เป็น 3 แอมป์ครับ เพราะผมใช้ J=3 Amp/sq_mm)
ดังนั้น พายส่วนสี่ ของ มิลกำลังสอง = พายส่วนสี่ ของ มิลลิเมตรกำลังสอง
ซึ่ง ถอดรูท 1500 ก็จะได้ 38 มิลก่าๆ ซึ่งก็ประมาณเท่ากับ 1 mm พอดี (1mm = 39.37 มิล)
ขอบคุณล่วงหน้ามากมายครับ

ว่าแต่  Fs3 , Fs5 อะไรนั่น มันคืออะไร ฤ
บันทึกการเข้า
tao
member
*

คะแนน4
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 92


อีเมล์
« ตอบ #12 เมื่อ: กรกฎาคม 21, 2009, 02:40:38 pm »

 Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed Embarrassed
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1 RC2 | SMF © 2001-2006, Lewis Media

lsv2555Please follow the new website at https://www.pohchae.com

Valid CSS!