- การวัด C. ELECTROLYTIC ด้วยอนาลอกมิเตอร์
LSVคลังสมองออนไลน์ "ปีที่14"
พฤศจิกายน 24, 2024, 02:48:32 am *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: - การวัด C. ELECTROLYTIC ด้วยอนาลอกมิเตอร์  (อ่าน 4232 ครั้ง)
ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 18843


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« เมื่อ: สิงหาคม 09, 2008, 07:29:51 pm »

ดูการวัด C. ELECTROLYTIC ด้วยดิจิตัลมิเตอร์และอนาลอก http://www.ubmthai.com/leksoundsmf3/index.php/topic,36842.0.html

-----------------------------------------------------




แสดงการวัดโดยการกลับขั้วของสายวัด เพื่อเป็นการชารจ์ และดิสชาร์ท ..(เช็ค capacitor ได้ว่าช๊อต-รั่ว)

ตัวอย่างการเช็ค C 10,000MFD ในมือถืออาจไม่เห็นภาพเคลื่อนไหวflash ให้ติดตั้งแอปเพิ่มนะครับ

http://www.leksound.net/EON49%20FLASH/8-51/c%20mea.swf


บันทึกการเข้า

ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 18843


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #1 เมื่อ: สิงหาคม 09, 2008, 07:38:35 pm »

จังหวะที่ 1
จะสาธิตการวัดค่า c ดังภาพทีละตัว ให้สังเกตการตั้งเรนท์มิเตอร์ด้วยครับ สำคัญมาก หากตั้งค่าต่ำไปเข็มจะกระดิกน้อยอ่านยาก
หากตั้งค่าสูงไปเข็มจะกระดิกเต็มที่อ่านยากเช่นกัน

เริ่มจาก c 10,000MFD จากภาพสายดำของมิเตอร์จะแตะกับขั้วบวกของ C .... สายแดงของมิเตอร์จะแตะกับขั้วลบของ C ...นั่นคือเรากำลังชาร์ทไฟเข้า c นั่นเอง ในจังหวะนี้ยังไม่ต้องอ่านค่าที่เข็มชี้เพราะยังค่าไม่แน่นอน  HAPPY2!!
บันทึกการเข้า
ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 18843


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: สิงหาคม 09, 2008, 07:48:15 pm »

จังหวะที่สอง
- ย้ายสายดำมาจับขั้วลบของ C
- ย้ายสายแดงมาจับขั้วบวกของ C
 จังหวะนี้คือการดิสชาร์ทกระแสไฟที่เราชาร์ทไว้ในจังหวะที่1 ..แรงไฟที่มีอยู่ใน C จะไหลเข้ามิเตอร์ ทำให้เข็มชี้ตามปริมาณของกระแสที่มีอยู่ และค่อยๆตกลงจนสุดสเกลมิเตอร์ด้านซ้าย ซึ่งแสดงว่าแรงไฟใน C หมดแล้ว ในจังหวะนี้เราจะดูเข็มว่าชี้ตรงไหน ให้มาร์คไว้เพื่อเป็นแนวทางตรวจเช็ค C ตัวอื่นที่มีค่าใกล้เคียงกัน(จะสรุปให้อีกครั้งว่า c ค่าไหนต้องตั้งเรนท์ไหน ควรอ่านค่าได้เท่าไร)...  HAPPY2!!

วัด c 10,000MFD หรือค่าใกล้เคียง ให้ตั้งเรนท์ x1 จะอ่านค่าได้ประมาณ 10Ω (ดูสเกล Ω แถวบนสุด ) ►ถ้าอ่านค่าได้น้อยกว่านี้มาก เช่น 100Ω แสดงว่า C ตัวนี้เสื่อมเก็บประจุได้น้อย
►ถ้าอ่านค่าได้สุดสเกล เช่น 0Ω แสดงว่า C ตัวนี้ช๊อต
►ถ้ามิเตอร์ไม่ตีกลับมายังตำแหน่งซ้ายมือสุด เช่นค้างที่ 200Ω แสดงว่า C ตัวนี้รั่ว


บันทึกการเข้า
ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 18843


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #3 เมื่อ: สิงหาคม 09, 2008, 08:00:00 pm »

วัด c 1,000MFD หรือค่าใกล้เคียง ให้ตั้งเรนท์ x10 จะอ่านค่าได้ประมาณ 30Ω (ดูสเกล Ω แถวบนสุด ) ►ถ้าอ่านค่าได้น้อยกว่านี้มาก เช่น 100Ω แสดงว่า C ตัวนี้เสื่อมเก็บประจุได้น้อย
►ถ้าอ่านค่าได้สุดสเกล เช่น 0Ω แสดงว่า C ตัวนี้ช๊อต
►ถ้ามิเตอร์ไม่ตีกลับมายังตำแหน่งซ้ายมือสุด เช่นค้างที่ 200Ω แสดงว่า C ตัวนี้รั่ว
บันทึกการเข้า
ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 18843


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #4 เมื่อ: สิงหาคม 09, 2008, 08:06:57 pm »

วัด c 100MFD หรือค่าใกล้เคียง ให้ตั้งเรนท์ x100 จะอ่านค่าได้ประมาณ 15Ω (ดูสเกล Ω แถวบนสุด ) ►ถ้าอ่านค่าได้น้อยกว่านี้มาก เช่น 100Ω แสดงว่า C ตัวนี้เสื่อมเก็บประจุได้น้อย
►ถ้าอ่านค่าได้สุดสเกล เช่น 0Ω แสดงว่า C ตัวนี้ช๊อต
►ถ้ามิเตอร์ไม่ตีกลับมายังตำแหน่งซ้ายมือสุด เช่นค้างที่ 200Ω แสดงว่า C ตัวนี้รั่ว
บันทึกการเข้า
ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 18843


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #5 เมื่อ: สิงหาคม 09, 2008, 08:11:12 pm »

วัด c 47MFD หรือค่าใกล้เคียง ให้ตั้งเรนท์ x100 จะอ่านค่าได้ประมาณ 30Ω (ดูสเกล Ω แถวบนสุด ) ►ถ้าอ่านค่าได้น้อยกว่านี้มาก เช่น 100Ω แสดงว่า C ตัวนี้เสื่อมเก็บประจุได้น้อย
►ถ้าอ่านค่าได้สุดสเกล เช่น 0Ω แสดงว่า C ตัวนี้ช๊อต
►ถ้ามิเตอร์ไม่ตีกลับมายังตำแหน่งซ้ายมือสุด เช่นค้างที่ 200Ω แสดงว่า C ตัวนี้รั่ว
บันทึกการเข้า
ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 18843


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #6 เมื่อ: สิงหาคม 09, 2008, 08:41:01 pm »

วัด c 10MFD หรือค่าใกล้เคียง ให้ตั้งเรนท์ x1k จะอ่านค่าได้ประมาณ 10 (ดูสเกล Ω แถวบนสุด ) ►ถ้าอ่านค่าได้น้อยกว่านี้มาก เช่น 100Ω แสดงว่า C ตัวนี้เสื่อมเก็บประจุได้น้อย
►ถ้าอ่านค่าได้สุดสเกล เช่น 0Ω แสดงว่า C ตัวนี้ช๊อต
►ถ้ามิเตอร์ไม่ตีกลับมายังตำแหน่งซ้ายมือสุด เช่นค้างที่ 200Ω แสดงว่า C ตัวนี้รั่ว
บันทึกการเข้า
ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 18843


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #7 เมื่อ: สิงหาคม 09, 2008, 08:44:18 pm »

วัด c 1MFD หรือค่าใกล้เคียง ให้ตั้งเรนท์ x1k จะอ่านค่าได้ประมาณ 200Ω (ดูสเกล Ω แถวบนสุด ) ►ถ้าอ่านค่าได้น้อยกว่านี้มาก เช่น 500Ω แสดงว่า C ตัวนี้เสื่อมเก็บประจุได้น้อย
►ถ้าอ่านค่าได้สุดสเกล เช่น 0Ω แสดงว่า C ตัวนี้ช๊อต
►ถ้ามิเตอร์ไม่ตีกลับมายังตำแหน่งซ้ายมือสุด เช่นค้างที่ 1,000Ω แสดงว่า C ตัวนี้รั่ว
บันทึกการเข้า
ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 18843


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #8 เมื่อ: สิงหาคม 09, 2008, 08:48:33 pm »

ขั้นตอนการตรวจเช็คดังข้างต้น จะเป็นการตรวจว่า C นั้นรั่ว -ช๊อต หรือไม่เท่านั้น และอ่านค่าได้เพียงหยาบๆเมื่อนำมาเทียบตัวเลขที่เข็มสวิงบนสเกลของมิเตอร์ ..ดังนั้นหากต้องการอ่านค่าCAPACITOR ได้อย่างแม่นยำ จำเป็นต้องใช้เครื่องมือวัดCดิจิตัลมิเตอร์โดยเฉพาะ ซึ่งจะกล่าวในกระทู้ต่อไปครับ   HAPPY2!!

สรุปผลการวัด สำหรับนศ.ที่ไม่มีมิเตอร์ดิจิตอลสำหรับวัดค่า C ให้ใช้ผลการวัดนี้เปรียบเทียบเอาก็ได้ครับ

●วัด c 1MFD หรือค่าใกล้เคียง ให้ตั้งเรนท์ x1k จะอ่านค่าได้ประมาณ 200Ω (ดูสเกล Ω แถวบนสุด )
●วัด c 10MFD หรือค่าใกล้เคียง ให้ตั้งเรนท์ x1k จะอ่านค่าได้ประมาณ 10 (ดูสเกล Ω แถวบนสุด )
●วัด c 47MFD หรือค่าใกล้เคียง ให้ตั้งเรนท์ x100 จะอ่านค่าได้ประมาณ 30Ω (ดูสเกล Ω แถวบนสุด )
●วัด c 100MFD หรือค่าใกล้เคียง ให้ตั้งเรนท์ x100 จะอ่านค่าได้ประมาณ 15Ω (ดูสเกล Ω แถวบนสุด )
●วัด c 1,000MFD หรือค่าใกล้เคียง ให้ตั้งเรนท์ x10 จะอ่านค่าได้ประมาณ 30Ω (ดูสเกล Ω แถวบนสุด )
●วัด c 10,000MFD หรือค่าใกล้เคียง ให้ตั้งเรนท์ x1 จะอ่านค่าได้ประมาณ 10Ω (ดูสเกล Ω แถวบนสุด )
บันทึกการเข้า
samreong+
สนับสนุนLSV+
member
***

คะแนน101
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 14


« ตอบ #9 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2009, 09:06:51 am »

ถ้าอยู่ในวงจรจะต้องถอดออกมาวัดรึเปล่าครับ
บันทึกการเข้า
ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 18843


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #10 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2009, 09:37:33 am »

ต้องการความชัวร์ ก็ต้องถอดครับ  HAPPY2!!
บันทึกการเข้า
samreong+
สนับสนุนLSV+
member
***

คะแนน101
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 14


« ตอบ #11 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2009, 12:38:28 pm »

กับแบบเซรามิกวัดเหมือนกันเปล่าคับ
บันทึกการเข้า
ช่างเล็ก(LSV)
Administrator
member
*

คะแนน1346
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 18843


คิดดี ทำดี ชีวิตมีแต่สุข


อีเมล์
« ตอบ #12 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2009, 12:47:21 pm »

วัดเหมือนกันครับ เพียงแต่ต้องตั้งเรนท์มิเตอร์ไปที่ย่านสูงๆ เพราะ C. CERAMICมีค่าน้อยมาก
   C. CERAMIC ค่าต่ำมากๆเช่น 100pf 10pf จะใช้มิเตอร์เข็มหรือดิจิตอลวัดไม่ได้ครับ ต้องใช้เครื่องวัดCโดยเฉพาะครับ  HAPPY2!!
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1 RC2 | SMF © 2001-2006, Lewis Media

lsv2555Please follow the new website at https://www.pohchae.com

Valid CSS!