อยากทราบหม้อแปลงสเต็ปดึงไฟได้อย่างไรและทำงานอย่างไรคับ
LSVคลังสมองออนไลน์ "ปีที่14"
พฤศจิกายน 25, 2024, 04:44:22 pm *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: อยากทราบหม้อแปลงสเต็ปดึงไฟได้อย่างไรและทำงานอย่างไรคับ  (อ่าน 7160 ครั้ง)
srgroup_02
member
*

คะแนน1
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 60

ไม่ทำงานแล้วจะมีเงินได้อย่างไร


อีเมล์
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 13, 2008, 10:49:27 pm »

อยากทราบหม้อแปลงสเต็ปดึงไฟได้อย่างไรและทำงานอย่างไรคับ Sadท่านผู้รู้ช่วยตอบให้หน่อยคับ
อยากรู้มักๆๆ Sad


บันทึกการเข้า

kan
Full Member
member
**

คะแนน78
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 659



« ตอบ #1 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2008, 08:35:13 am »

เขาเอาไว้เพิ่มไฟครับเวลาไฟตกครับ
บันทึกการเข้า
somsak.sam1
member
*

คะแนน8
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 367


อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2008, 10:34:30 am »

จากความคิดเห็นส่วนตัวผมคิดว่าเป็นหม้อแปลงเพิ่มแรงดันครับไม่ใช่ดึงไฟใช้หม้อแปลงที่เราใช้กันอยู่มาทำก็ได้ครับ Sad Sad
บันทึกการเข้า
หลง สุรินทร์
วีไอพี
member
***

คะแนน96
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2441


ทีมงาน PS.SOUND


« ตอบ #3 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2008, 10:51:21 am »

 Kiss
จากความคิดเห็นส่วนตัวผมคิดว่าเป็นหม้อแปลงเพิ่มแรงดันครับไม่ใช่ดึงไฟใช้หม้อแปลงที่เราใช้กันอยู่มาทำก็ได้ครับ Sad Sad
บันทึกการเข้า

รับงานะบบ LAN Wireless ติดตั้ง CCTV ดูผ่านระบบออนไลน์ Remote ทำให้ได้ทั่วประเทศ
jun ♥
วีไอพี
member
***

คะแนน153
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1011


เมืองดินดำ

artith_2522@hotmal.com
อีเมล์
« ตอบ #4 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2008, 11:08:58 am »

แล้วแรงดันที่ได้จะเป็นอย่างไรครับช่วยอธิบายหน่อยอยากทราบครับ
ขอสูตรการคำนวณแรงดันที่ได้ด้วยก็ดีครับพอดีเผื่อจะเอาไปใช้ประโยชน์ได้
เพราะที่ดูจากรูปที่วาด สนามแม่เหล็กที่ได้ดูจะสวนทางกันอยู่มันไม่น่าเพิ่มแรงดันได้เลยงงครับ
ขอบคุณครับ
บันทึกการเข้า

รับซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด
รับซ่อมติดตั้งแอร์
รับติดตั้งและแก้ไขกล้องวงจรปิด
รับเดินสายไฟ
61,61/1 ซ.สุขสวัสดิ์31/1 ถ.สุขสวัสดิ์ แขวงราษฎร์บูรณะ  เขตราษฎร์บูรณะ  กรุงเทพฯ
Tel: 081-1404437 ,  081-8421137
prawit penboon
member
*

คะแนน35
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 345


อีเมล์
« ตอบ #5 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2008, 11:19:31 am »

ขอเขียนใหม่ให้ดูง่ายขึ้น นะครับ
บันทึกการเข้า
jun ♥
วีไอพี
member
***

คะแนน153
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1011


เมืองดินดำ

artith_2522@hotmal.com
อีเมล์
« ตอบ #6 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2008, 11:44:18 am »

 Cheesy อย่างนี้เข้าใจแล้วครับ Grin
บันทึกการเข้า

รับซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด
รับซ่อมติดตั้งแอร์
รับติดตั้งและแก้ไขกล้องวงจรปิด
รับเดินสายไฟ
61,61/1 ซ.สุขสวัสดิ์31/1 ถ.สุขสวัสดิ์ แขวงราษฎร์บูรณะ  เขตราษฎร์บูรณะ  กรุงเทพฯ
Tel: 081-1404437 ,  081-8421137
r6448
member
*

คะแนน4
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 39



เว็บไซต์
« ตอบ #7 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2008, 12:35:19 pm »

หม้อแปลงแบบปรับเลื่อนค่าได้ (Variable) ขดลวดทุติยภูมิและปฐมภูมิจะเป็นขดลวดขดเดียวกัน   หรือเรียกว่าหม้อแปลงออโต ้ (Autotransformer)ครับ  มักใช้กับการปรับขนาดแรงเคลื่อนไฟฟ้าให้กับวงจรไฟฟ้าตามต้องการ  หม้อแปลง ออโต้ที่สามารถปรับค่าได้ด้วยการเลื่อนแทปขดลวด มีชื่อเรียกทางการค้าว่า วาไรแอก(Variac)

หม้อแปลงแบบออโต้นี้มีการต่อขดลวดแบบพิเศษ ซึ่งสามารถปรับค่าแรงดันไฟสลับทางด้านทุติยภูมิได้ ลักษณะการต่อขดลวดแบบนี้เรียกว่า common winding โดยขดลวดn1 และn2 มีจำนวนรอบที่เท่ากัน                                                             

อัตราส่วนจำนวนรอบกำหนดได้ดังนี้  [v1/v2]=[n1/n2] = a                                                                                                 

ถ้าขดลวดทางด้านทุติยภูมิสามารถแทปโดยการปรับเลื่อน  การเปลี่ยนแปลงแรงดันทางด้านออกจะอยู่ในช่วง0 < v2   < v1  สำหรับขดลวดครึ่งบนความสัมพันธ์ระหว่างกระแสกับอัตราส่วนจำนวนรอบ กำหนดได้โดย
Fu = [n1-n2]i1 = [1-(1/a)]n1i1                                               

และขดลวดครึ่งล่างความสัมพันธ์ระหว่างกระแสกับอัตราส่วนจำนวนรอบ กำหนดได้โดย
Fl = n2(i2-i1) = [(n1/a)(i2-i1)] 
                                                                                                                     
ดังนั้น  i1/i2 = 1/a                                                                             
                                                                                                                                                                                     
ข้อดีของหม้อแปลงแบบออโต้ คือค่ารีแอคแตนซ์รั่ว การสูญเสียที่เกิดขึ้นและกระแสกระตุ้นต่ำมาก นอกจากนี้ยังทำให้ค่าพิกัด  kVAสูงขึ้น และการปรับแรงดันทางด้านออกทำได้โดยการปรับเปลี่ยนแทปทางด้านทุติยภูมิ Grin
บันทึกการเข้า
r6448
member
*

คะแนน4
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 39



เว็บไซต์
« ตอบ #8 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2008, 12:57:01 pm »

หม้อหม้อแปลงสเต็ปดึงไฟที่ท่านmjkosrgroup_02 ถามถึงก็ใช้หลักการของออโตทานสฟอร์มเมอร์ แต่ขดลวดn2 มีจำนวนรอบทีมากกว่าn1 หรือสลับn1เป็นn2 ,n2เป็น n1

ถ้ามีตู้เชื่อมไฟฟ้า ลองเปิดโครงออกดูการต่อขดลวด  ผมว่าน่าจะเอามาทำ "หม้อแปลงสเต็ปดึงไฟ " ได้นะครับ  จ่ายกระแสได้เหลือเฟือ   เพาเวอร์ลอสออกมาเป็นความร้อนจะมากหน่อย;D
บันทึกการเข้า
srgroup_02
member
*

คะแนน1
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 60

ไม่ทำงานแล้วจะมีเงินได้อย่างไร


อีเมล์
« ตอบ #9 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 15, 2008, 03:07:42 pm »

ขอบคุณทุกท่านครับผม Kiss
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1 RC2 | SMF © 2001-2006, Lewis Media

lsv2555Please follow the new website at https://www.pohchae.com

Valid CSS!