sirirrin
สนับสนุนLSV-server
member
คะแนน 180
ออฟไลน์
กระทู้: 301
|
|
« เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 08:00:03 pm » |
|
พุทธรักษาพันธุ์ ครีมประพันธ์พงษ์ ได้จากการนำหน่อและเหง้า ของพุทธรักษาพันธุ์ GISC 6 (No.6) ไปฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลัน (acute irradiation) ด้วยเครื่องฉายรังสีแกมมารุ่นมาร์ควัน ที่ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้ปริมาณรังสี 15 เกรย์ ปลูกให้แตกหน่อใหม่ แยกหน่อที่มีลักษณะกลายออกมาขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่คงตัว และขอขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชไว้ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชื่อพันธุ์ ครีมประพันธ์พงษ์ (Cream Prapanpong) เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2543
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
sirirrin
สนับสนุนLSV-server
member
คะแนน 180
ออฟไลน์
กระทู้: 301
|
|
« ตอบ #1 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 08:00:44 pm » |
|
พุทธรักษาพันธุ์ ส้มสิรนุช ได้จากการนำหน่อและเหง้า ของพุทธรักษาพันธุ์ GISC 24 (No.24) ไปฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลัน (acuteirradiation)ด้วยเครื่องฉายรังสีแกมมารุ่นมาร์ควันที่ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้ปริมาณรังสี 25 เกรย์ ปลูกให้แตกหน่อใหม่ แยกหน่อที่มีลักษณะกลายออกมาขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่คงตัว และขอขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชไว้ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชื่อพันธุ์ ส้มสิรนุช (Orange Siranut) เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2543
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
sirirrin
สนับสนุนLSV-server
member
คะแนน 180
ออฟไลน์
กระทู้: 301
|
|
« ตอบ #2 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 08:01:33 pm » |
|
พุทธรักษาพันธุ์ ชมพูพีรนุช ได้จากการนำหน่อและเหง้า ของพุทธรักษาพันธุ์ GISC 1 (No.1) ไปฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลัน (acute irradiation) ด้วยเครื่องฉายรังสีแกมมารุ่นมาร์ควัน ที่ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้ปริมาณรังสี 20 เกรย์ ปลูกให้แตกหน่อใหม่ แยกหน่อที่มีลักษณะกลายออกมาขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่คงตัว และขอขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชไว้ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชื่อพันธุ์ ชมพูพีรนุช (Pink Peeranuch) เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2543
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
sirirrin
สนับสนุนLSV-server
member
คะแนน 180
ออฟไลน์
กระทู้: 301
|
|
« ตอบ #3 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 08:02:26 pm » |
|
พุทธรักษาพันธุ์ แดงฤทธี ได้จากการนำหน่อและเหง้า ของพุทธรักษาพันธุ์ GISC 2 (No.2) ไปฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลัน (acute irradiation) ด้วยเครื่องฉายรังสีแกมมารุ่นมาร์ควัน ที่ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้ปริมาณรังสี 20 เกรย์ ปลูกให้แตกหน่อใหม่ แยกหน่อที่มีลักษณะกลายออกมาขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่คงตัว และขอขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชไว้ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชื่อพันธุ์ แดงฤทธี (Red Ridthee) เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2544
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
sirirrin
สนับสนุนLSV-server
member
คะแนน 180
ออฟไลน์
กระทู้: 301
|
|
« ตอบ #4 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 08:02:55 pm » |
|
พุทธรักษาพันธุ์ วันวิสา ได้จากการนำหน่อและเหง้า ของพุทธรักษาพันธุ์ GISC 24 (No.24) ไปฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลัน (acute irradiation) ด้วยเครื่องฉายรังสีแกมมารุ่นมาร์ควัน ที่ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้ปริมาณรังสี 20 เกรย์ ปลูกให้แตกหน่อใหม่ แยกหน่อที่มีลักษณะกลายออกมาขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่คงตัว และขอขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชไว้ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชื่อพันธุ์ วันวิสา (Wanwisa) เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2544
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
sirirrin
สนับสนุนLSV-server
member
คะแนน 180
ออฟไลน์
กระทู้: 301
|
|
« ตอบ #5 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 08:03:39 pm » |
|
พุทธรักษาพันธุ์ เพ็ญพิตร ได้จากการนำเมล็ด ของพุทธรักษาพันธุ์ GISC 24 (No.24) ไปฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลัน (acute irradiation) ด้วยเครื่องฉายรังสีแกมมารุ่นมาร์ควัน ที่ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้ปริมาณรังสี 250 เกรย์ ปลูกให้แตกหน่อใหม่ แยกหน่อที่มีลักษณะกลายออกมาขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่คงตัว และขอขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชไว้ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชื่อพันธุ์ เพ็ญพิตร (Penphit) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2545
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
sirirrin
สนับสนุนLSV-server
member
คะแนน 180
ออฟไลน์
กระทู้: 301
|
|
« ตอบ #6 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 08:04:23 pm » |
|
พุทธรักษาพันธุ์ แสงเทียน พันธุ์แสงเทียน ได้จากการนำเมล็ดของพันธุ์ส้มสิรนุช (Orange Siranut) มาปลูก ได้ลักษณะดอกที่แปลกออกไปจากส้มสิรนุช จึงแยกออกมาขยายพันธุ์ และขอขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชไว้ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชื่อพันธุ์ แสงเทียน (Candle Light) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2545
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
sirirrin
สนับสนุนLSV-server
member
คะแนน 180
ออฟไลน์
กระทู้: 301
|
|
« ตอบ #7 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 08:05:02 pm » |
|
พุทธรักษาพันธุ์ พิบูลศิลป์ ได้จากการนำหน่อและเหง้า ของพุทธรักษาพันธุ์ GISC 70 (No.70) ไปฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลัน (acute irradiation) ด้วยเครื่องฉายรังสีแกมมารุ่นมาร์ควัน ที่ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้ปริมาณรังสี 20 เกรย์ ปลูกให้แตกหน่อใหม่ แยกหน่อที่มีลักษณะกลายออกมาขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่คงตัว และขอขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชไว้ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชื่อพันธุ์ พิบูลศิลป์ (Piboonsin) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2545
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
sirirrin
สนับสนุนLSV-server
member
คะแนน 180
ออฟไลน์
กระทู้: 301
|
|
« ตอบ #8 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 08:05:43 pm » |
|
พุทธรักษาพันธุ์ นฤทุม ได้จากการนำหน่อและเหง้า ของพุทธรักษาพันธุ์ GISC 22 (No.22) ไปฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลัน (acute irradiation) ด้วยเครื่องฉายรังสีแกมมารุ่นมาร์ควัน ที่ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้ปริมาณรังสี 20 เกรย์ ปลูกให้แตกหน่อใหม่ แยกหน่อที่มีลักษณะกลายออกมาขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่คงตัว และขอขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชไว้ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชื่อพันธุ์ นฤทุม (Naritoom) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2545
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
sirirrin
สนับสนุนLSV-server
member
คะแนน 180
ออฟไลน์
กระทู้: 301
|
|
« ตอบ #9 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 08:06:19 pm » |
|
พุทธรักษาพันธุ์ แดงวิโรจ ได้จากการนำเมล็ด ของพุทธรักษาพันธุ์ GISC 10 (No.10) ไปฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลัน (acute irradiation) ด้วยเครื่องฉายรังสีแกมมารุ่นมาร์ควัน ที่ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้ปริมาณรังสี 250 เกรย์ ปลูกให้แตกหน่อใหม่ แยกหน่อที่มีลักษณะกลายออกมาขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่คงตัว และขอขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชไว้ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชื่อพันธุ์ แดงวิโรจ (Red Viroch) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2545
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
sirirrin
สนับสนุนLSV-server
member
คะแนน 180
ออฟไลน์
กระทู้: 301
|
|
« ตอบ #10 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 08:07:03 pm » |
|
พุทธรักษาพันธุ์ ปราโมทย์ ได้จากการนำหน่อและเหง้า ของพุทธรักษาพันธุ์ GISC 5 (No.5)ไปฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลัน (acute irradiation) ด้วยเครื่องฉายรังสีแกมมารุ่นมาร์ควัน ที่ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้ปริมาณรังสี 30 เกรย์ ปลูกให้แตกหน่อใหม่ แยกหน่อที่มีลักษณะกลายออกมาขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่คงตัว และขอขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชไว้ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชื่อพันธุ์ ปราโมทย์ (Pramote) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2545
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
sirirrin
สนับสนุนLSV-server
member
คะแนน 180
ออฟไลน์
กระทู้: 301
|
|
« ตอบ #11 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 08:07:54 pm » |
|
พุทธรักษาพันธุ์ นฤปวัจก์ ได้จากการนำหน่อและเหง้า ของพุทธรักษาพันธุ์ GISC 1 (No.1) ไปฉายรังสีแกมมาแบบเฉียบพลัน (acute irradiation) ด้วยเครื่องฉายรังสีแกมมารุ่นมาร์ควัน ที่ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้ปริมาณรังสี 20 เกรย์ ปลูกให้แตกหน่อใหม่ แยกหน่อที่มีลักษณะกลายออกมาขยายพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่คงตัว และขอขึ้นทะเบียนพันธุ์พืชไว้ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในชื่อพันธุ์ นฤปวัจก์ (Narippawaj) เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2545
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
sirirrin
สนับสนุนLSV-server
member
คะแนน 180
ออฟไลน์
กระทู้: 301
|
|
« ตอบ #15 เมื่อ: ธันวาคม 03, 2007, 08:11:44 pm » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|