SHARP รุ่น 25WG3 เปิดสักพักสีแดงกลายเป็นสีออกชมพู
LSVคลังสมองออนไลน์ "ปีที่14"
พฤศจิกายน 24, 2024, 12:26:34 pm *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: SHARP รุ่น 25WG3 เปิดสักพักสีแดงกลายเป็นสีออกชมพู  (อ่าน 3921 ครั้ง)
205109
member
*

คะแนน-1
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 38


อีเมล์
« เมื่อ: พฤศจิกายน 16, 2007, 01:48:32 pm »

สวัสดีครับพี่ๆๆๆทุกท่าน ผมขอสอบถามหน่อยครับ คือ SHARP  รุ่น 25WG3 เปิดสักพักสีแดงกลายเป็นสีออกชมพู  IC RGB  TDA 6107Q  ไม่ทราบว่าหลอดเสื่อมปล่าวครับ
ขอคำแนะนำหน่อยครับขอบคุณครับ


บันทึกการเข้า

mon0915
กลุ่มสนับสนุนLSV+มีน้ำใจ
member
****

คะแนน216
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2149



อีเมล์
« ตอบ #1 เมื่อ: พฤศจิกายน 16, 2007, 01:59:46 pm »

ย้ำแผงตูดหลอดภาพก่อนครับ  และเช็คดู IC    RGB  ด้วยครับ
บันทึกการเข้า
wichaik
member
*

คะแนน1
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 155


« ตอบ #2 เมื่อ: พฤศจิกายน 16, 2007, 04:32:50 pm »

ได้ ยัง ตอบด้วยครับ   Undecided
บันทึกการเข้า
205109
member
*

คะแนน-1
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 38


อีเมล์
« ตอบ #3 เมื่อ: พฤศจิกายน 18, 2007, 08:56:37 pm »

 Sadขอโทษที่ตอบช้าครับ ผมเปลี่ยน IC RGB  และย้ำแผงตูดหลอด แล้วอาการยังเหมือนเดิม
คือเปิดใหม่ภาพออกเป็นสีมพู (เหมือนสีน้ำเงินไม่ออก)  แต่หลังจากนั้นประมาณ 30 นาที
ภาพก็ปกติครับ  พี่ๆๆช่วยแนะนำหน่อยคับ ขอบคุณครับ Sad
บันทึกการเข้า
bdit2007
วีไอพี
member
***

คะแนน35
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 147


« ตอบ #4 เมื่อ: พฤศจิกายน 18, 2007, 09:40:26 pm »

วิธีการเดาแบบเปลี่ยนแหลก  อย่างนี้ไม่ดีเลยเงินนะมันหายาก จะซื้อนะมันเป็นเรื่องง่าย ถ้าท่านอยู่ในหลักการสักนิดนึง ท่านจะไม่เสียค่าอะไหล่ตัวนี้ ตุนจนเอามาใส่เป็นกระป๋องหลายใบ อาการแบบที่เล่ามาให้ใช้ความละเอียดและใจเย็น  เช่น ตอนเริ่มเปิดใหม่เป็นอาการนึง  อีกสักพักเป็นอีกอย่างนึง  นั่นคือชองโหว่ของการเสียที่เราสามารถ วัดศักดิ์ไฟที่ขา C ถ้าเป็นทรานซิสเตอร์ ละถ้าเปน IC drive เราก็จะวัดตรงขา  คาโถด ของหลอดภาพแต่ละสี  เพื่อประกอบการวิเคราะห์อาการเสีย ขาคาโถดขาใดที่มี ไฟสูงกว่าชาวบ้านแสดงว่า ทรานซิสเตอร์ตัวนั้นไม่ทำงาน ถึงจะใช้เป็น IC ข้างในก็ยังเป็น TR อยู่ดี  อีกอย่างการทำความเข้าใจเรื่องการผสมสีทางแสง  ก็เป็นเรื่องที่น่าให้ความสำคัญไม่น้อย ถ้าไม่เข้าใจก็ลองของจริงโดยการปลด คาโถดเข้า ออกทีละสีก็จะมีความแม่นยำยิ่งขึ้น อีเล็คทรอนิคส์ สามารถทำความเข้าใจจากเครื่องที่ซ่อมเสร็จ โดยใช้วิธีการสังเกตุ และจำพฤติกรรมจากการวัดไฟแต่ละจุด มาประกอบกับหลักการทำงานของ ทรานซิสเตอร์เพียงเท่านี้ ท่านแทบจะไม่ต้องถามใคร เพราะตัวเองสามารถตอบตัวเองได้อยู่แล้ว ต่อไปเราก็จะพึ่งตัวเราเองเป็นหลักก่อน แล้วเมื่อจนด้วยเกล้าแล้ว   ค่อยถามหรือปรึกษาผู้รู้หรือผู้ที่มีประสบการณ์มาก่อน  อย่างนี่ท่านจะมีโอกาสแกร่งได้ในวันข้างหน้าก็แนะเป็นหลักการเล่าให้ฟัง ลองไปปฎิบัติดู พวกเราไม่ได้หนีไปไหน   ว่างเว้นเมื่อไหร่ก็ต้องแวะมาเยี่ยมเยียน บอร์ดกันด้วยความห่วงใยทุกวันเจ้าคะ Smiley
บันทึกการเข้า
205109
member
*

คะแนน-1
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 38


อีเมล์
« ตอบ #5 เมื่อ: พฤศจิกายน 18, 2007, 09:51:33 pm »

ขอบคุณที่แนะนำครับ
ผมปลดคาโธดแต่ละสีแล้วทุกสีออกปกติครับ
บันทึกการเข้า
bdit2007
วีไอพี
member
***

คะแนน35
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 147


« ตอบ #6 เมื่อ: พฤศจิกายน 18, 2007, 10:19:46 pm »

ทีนี้ท่านอย่าให้ color saturation มาเกี่ยวข้อง โดยการลด color ลงจนสุดเลย ให้ background  เป็นขาว-ดำ แล้วปลดออก 1 สี (คือให้วงจรขับ สํญญาณ  Y ทำงานโดยอิสระ  แล้ววัดไฟเปรียบเทียบกันระหว่างก่อนและหลังว่าแตกต่างกันอย่างไร   ให้ลองทีละ 2 สี แล้วค่อยมาวิเคราะห์กันเดี๋ยวท่านก็รู้หลักเองแหละ Wink Smiley
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1 RC2 | SMF © 2001-2006, Lewis Media

lsv2555Please follow the new website at https://www.pohchae.com

Valid CSS!